ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทใหญ่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7153207 สร้างโดย 171.96.114.231 (พูดคุย)
Aoonkham32548 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| religions = ส่วนใหญ่นับถือ[[พระพุทธศาสนา]]นิกายกึงจอง ส่วนน้อยนับถือนิกายกึงโยน<ref>เสมอชัย พูลสุวรรณ. '''รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย'''. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552. หน้า 66</ref>
| religions = ส่วนใหญ่นับถือ[[พระพุทธศาสนา]]นิกายกึงจอง ส่วนน้อยนับถือนิกายกึงโยน<ref>เสมอชัย พูลสุวรรณ. '''รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย'''. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552. หน้า 66</ref>
}}
}}
'''ไทใหญ่''' หรือ '''ฉาน''' ({{lang-shn|{{my|တႆး}}}} ''ไต๊''; {{lang-my|ရှမ်းလူမျိုး}}, {{IPA-all|ʃán lùmjóʊ|pron}}; {{zh-all|s=掸族|p=Shàn zú}}) หรือ '''เงี้ยว''' (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ)<ref>{{cite web | title = ยวน ในยวนพ่าย ก็เป็น ลาว (คักๆ) | publisher = สุจิตต์ วงษ์เทศ | url = http://www.sujitwongthes.com/2012/09/weekly21092555/ | date = 21 กันยายน 2555 | accessdate = 14 กุมภาพันธ์ 2558}}</ref> คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยใน[[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]] และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณ[[ดอยไตแลง]] ชายแดนระหว่าง[[ประเทศไทย]]กับประเทศพม่า<ref>Sao Sāimöng, The Shan States and the British Annexation. Cornell University, Cornell, 1969 (2nd ed.)</ref>คนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น [[ไตขืน]] [[ไตแหลง]] [[คำตี่|ไตคัมตี]] [[ไทลื้อ|ไตลื้อ]] และ[[ไตมาว]] แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต = ไท และ โหลง (หลวง) = ใหญ่) หรือที่คนไทยเรียกว่า ไทใหญ่ จะเห็นได้ว่าภาษาไตและภาษาไทยคล้ายกันบ้างแต่ไม่เหมือนกัน ชาวไทใหญ่ถือวันที่ [[7 กุมภาพันธ์]] เป็นวันชาติ เมืองหลวงของรัฐฉานคือ [[ตองยี]] มีประชากรประมาณ 150,000 คน ส่วนเมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ [[สีป้อ]] [[ล่าเสี้ยว]] [[เชียงตุง]] และ[[ท่าขี้เหล็ก]]
'''ไทใหญ่''' หรือ '''ฉาน''' ({{lang-shn|{{my|တႆး}}}} ''ไต๊''; {{lang-my|ရှမ်းလူမျိုး}}, {{IPA-all|ʃán lùmjóʊ|pron}}; {{zh-all|s=掸族|p=Shàn zú}})<ref>{{cite web | title = ยวน ในยวนพ่าย ก็เป็น ลาว (คักๆ) | publisher = สุจิตต์ วงษ์เทศ | url = http://www.sujitwongthes.com/2012/09/weekly21092555/ | date = 21 กันยายน 2555 | accessdate = 14 กุมภาพันธ์ 2558}}</ref> คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยใน[[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]] และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณ[[ดอยไตแลง]] ชายแดนระหว่าง[[ประเทศไทย]]กับประเทศพม่า<ref>Sao Sāimöng, The Shan States and the British Annexation. Cornell University, Cornell, 1969 (2nd ed.)</ref>คนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น [[ไตขืน]] [[ไตแหลง]] [[คำตี่|ไตคัมตี]] [[ไทลื้อ|ไตลื้อ]] และ[[ไตมาว]] แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต = ไท และ โหลง (หลวง) = ใหญ่) หรือที่คนไทยเรียกว่า ไทใหญ่ จะเห็นได้ว่าภาษาไตและภาษาไทยคล้ายกันบ้างแต่ไม่เหมือนกัน ชาวไทใหญ่ถือวันที่ [[7 กุมภาพันธ์]] เป็นวันชาติ เมืองหลวงของรัฐฉานคือ [[ตองยี]] มีประชากรประมาณ 150,000 คน ส่วนเมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ [[สีป้อ]] [[ล่าเสี้ยว]] [[เชียงตุง]] และ[[ท่าขี้เหล็ก]]


== เชื้อชาติ ==
== เชื้อชาติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:55, 9 สิงหาคม 2560

ไทใหญ่
ไต๊
ไฟล์:CosTribe Shan.gif
ประชากรทั้งหมด
ประมาณ 6 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
รัฐฉาน รัฐคะฉิ่น
รัฐกะเหรี่ยง เขตมัณฑะเลย์
 ไทยจีน ประเทศจีน
 กัมพูชา เวียดนาม
ภาษา
ภาษาไทใหญ่, คำเมือง, ภาษาพม่า และภาษาไทย
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายกึงจอง ส่วนน้อยนับถือนิกายกึงโยน[1]

ไทใหญ่ หรือ ฉาน (ไทใหญ่: တႆး ไต๊; พม่า: ရှမ်းလူမျိုး, ออกเสียง: [ʃán lùmjóʊ]; จีน: 掸族; พินอิน: Shàn zú)[2] คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า[3]คนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต = ไท และ โหลง (หลวง) = ใหญ่) หรือที่คนไทยเรียกว่า ไทใหญ่ จะเห็นได้ว่าภาษาไตและภาษาไทยคล้ายกันบ้างแต่ไม่เหมือนกัน ชาวไทใหญ่ถือวันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันชาติ เมืองหลวงของรัฐฉานคือ ตองยี มีประชากรประมาณ 150,000 คน ส่วนเมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ สีป้อ ล่าเสี้ยว เชียงตุง และท่าขี้เหล็ก

เชื้อชาติ

กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยในรัฐฉาน สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มดังนี้

  1. ชาวไทใหญ่ หรือไทหลวง (ไตโหลง)
  2. ชาวไทลื้อ มีถิ่นฐานอยู่ในแคว้นสิบสองปันนาของประเทศจีน และทางตะวันออกของรัฐฉาน
  3. ชาวไทเขิน (ไตขึน) เป็นประชากรส่วนใหญ่ของเมืองเชียงตุง
  4. ชาวไทเหนือ (ไตเหลอ) อาศัยอยู่ในแค้วนใต้คง (เต้อหง) ของประเทศจีน

อิทธิพลของพม่า

ประวัติศาสตร์ไทใหญ่เต็มไปด้วยเรื่องราวของสงคราม จนการเรียนประวัติศาสตร์ของชาวไทใหญ่กลายเป็นวิชาต้องห้ามมาตั้งแต่สมัยอังกฤษปกครอง อิทธิพลทางวัฒนธรรมของพม่าในไทใหญ่จึงมีมาก ซึ่งเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์และการเมือง[4] กล่าวคือเมื่อพม่ามีอิทธิพลทางการปกครองก็จะเกณฑ์ให้เจ้าฟ้าไทใหญ่ส่งลูกชายและลูกสาวไปเมืองหลวงพม่า เจ้าหญิงเจ้าชายเหล่านี้จึงได้รับวัฒนธรรมพม่ามา และนำกลับมาเผยแพร่แก่ประชาชนไทใหญ่ในรูปแบบของภาษา ดนตรี นาฏศิลป์ และขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ[5] เช่น เกิดความนิยมว่า วรรณคดีที่ไพเราะซาบซึ้งควรมีคำพม่าผูกผสมผสานกับคำไท[6][7]

ภาษา

ภาษาไทใหญ่เป็นวิชาเลือกหนึ่งภายในรัฐ เจ้าขุนสามซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายวัฒนธรรมรัฐฉานในอดีต เคยออกสำรวจคนไทใหญ่ในพม่า พบว่ามีคนไทใหญ่พูดภาษาไทใหญ่มากมายหลายแห่ง แต่ไม่มีจำนวนที่แน่นอน เพราะคนไทใหญ่เหล่านั้นจะเรียกตนเองว่าเป็นพม่า พูดภาษาพม่า แต่งกายเป็นพม่า[8]

อ้างอิง

  1. เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต):พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552. หน้า 66
  2. "ยวน ในยวนพ่าย ก็เป็น ลาว (คักๆ)". สุจิตต์ วงษ์เทศ. 21 กันยายน 2555. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. Sao Sāimöng, The Shan States and the British Annexation. Cornell University, Cornell, 1969 (2nd ed.)
  4. Maung Htin Aung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press. p. 95.
  5. Lt. Gen. Sir Arthur P. Phayre (1967). History of Burma (2 ed.). London: Susil Gupta. pp. 108–109.
  6. ‘Mae Sai Evacuated as Shells Hit Town’, Bangkok Post, 12 May 2002
  7. ‘Mortar Rounds Hit Thai Outpost, 2 Injured’, Bangkok Post, 20 June 2002, p.1
  8. "Shan: A language of Myanmar". Ethnologue. สืบค้นเมื่อ 2006-12-02.

แหล่งข้อมูลอื่น