ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มวล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ะเีัะะระาเั
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ความหมายอื่น||มวล.|มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์}}
{{ความหมายอื่น||มวล.|มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}
{{กลศาสตร์ดั้งเดิม}}
'''มวล''' เป็นคุณสมบัติหนึ่งของวัตถุ ที่บ่งบอก[[ปริมาณ]]ของสสารที่วัตถุนั้นมี มวลเป็นแนวคิดหลักอันเป็นหัวใจของ[[กลศาสตร์แบบดั้งเดิม]] รวมไปถึงแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อ"[http://www.sciam.com/article.cfm?chanID=sa006&articleID=000005FC-2927-12B3-A92783414B7F0000 The Mysteries of Mass,]" ''[[Scientific American]]'', July 2005.
'''มวล''' เป็นคุณสมบัติหนึ่งของวัตถุ ที่บ่งบอก[[ปริมาณ]]ของสสารที่วัตถุนั้นมี มวลเป็นแนวคิดหลักอันเป็นหัวใจของ[[กลศาสตร์แบบดั้งเดิม]] รวมไปถึงแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง

หากแจกแจงกันโดยละเอียดแล้ว จะมีปริมาณอยู่ 3 ประเภทที่ถูกนิยามว่า '''มวล''' ได้แก่

* '''มวลเฉื่อย''' ({{lang-en|inertial mass}}) คือการวัดปริมาณความเฉื่อยของมวล ซึ่งหมายถึงปริมาณความต้านทานในการเปลี่ยนสถานะของการเคลื่อนไหว เมื่อมี[[แรง]]มากระทำ วัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย จะสามารถเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ในทางกลับกัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้ยากกว่า ตัวอย่างเช่น หากพยายามทำให้วัตถุ 2 ก้อนเคลื่อนที่โดยใช้แรงเท่ากัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าวัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย ภายในเวลาที่เท่ากัน

== บรรณานุกรม ==
* {{cite book|author1=Sir Isaac Newton |author2=N. W. Chittenden |title=Newton's Principia: The mathematical principles of natural philosophy |url=http://books.google.com/books?id=KaAIAAAAIAAJ&pg=PA31 |accessdate=12 March 2011 |year=1848 |publisher=D. Adee }}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [[Stanford Encyclopedia of Philosophy]]: "[http://plato.stanford.edu/entries/equivME/ The Equivalence of Mass and Energy]" by Francisco Flores.
* "[http://www.sciam.com/article.cfm?chanID=sa006&articleID=000005FC-2927-12B3-A92783414B7F0000 The Mysteries of Mass,]" ''[[Scientific American]]'', July 2005.
* [http://math.ucr.edu/home/baez/physics Usenet Physics FAQ] by [[John Baez]]:
* [http://math.ucr.edu/home/baez/physics Usenet Physics FAQ] by [[John Baez]]:
** "[http://math.ucr.edu/home/baez/physics/Relativity/SR/mass.html Does mass change with velocity?]"
** "[http://math.ucr.edu/home/baez/physics/Relativity/SR/mass.html Does mass change with velocity?]"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:10, 27 กรกฎาคม 2560

มวล เป็นคุณสมบัติหนึ่งของวัตถุ ที่บ่งบอกปริมาณของสสารที่วัตถุนั้นมี มวลเป็นแนวคิดหลักอันเป็นหัวใจของกลศาสตร์แบบดั้งเดิม รวมไปถึงแขนงวิชาที่เกี่ยวข้อง

หากแจกแจงกันโดยละเอียดแล้ว จะมีปริมาณอยู่ 3 ประเภทที่ถูกนิยามว่า มวล ได้แก่

  • มวลเฉื่อย (อังกฤษ: inertial mass) คือการวัดปริมาณความเฉื่อยของมวล ซึ่งหมายถึงปริมาณความต้านทานในการเปลี่ยนสถานะของการเคลื่อนไหว เมื่อมีแรงมากระทำ วัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย จะสามารถเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ในทางกลับกัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเปลี่ยนแปลงสถานะการเคลื่อนไหวได้ยากกว่า ตัวอย่างเช่น หากพยายามทำให้วัตถุ 2 ก้อนเคลื่อนที่โดยใช้แรงเท่ากัน วัตถุที่มีมวลเฉื่อยมาก จะเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าวัตถุที่มีมวลเฉื่อยน้อย ภายในเวลาที่เท่ากัน

บรรณานุกรม

  • Sir Isaac Newton; N. W. Chittenden (1848). Newton's Principia: The mathematical principles of natural philosophy. D. Adee. สืบค้นเมื่อ 12 March 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น