ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทรทัศน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cgamesema (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนทางหน้าไป เครื่องรับโทรทัศน์
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 6884813 โดย 119.76.101.80: ก่อกวนด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
#เปลี่ยนทาง[[เครื่องรับโทรทัศน์]]
[[ไฟล์:Braun HF 1.jpg|150px|right|thumb|เครื่องรับโทรทัศน์ Braun HF 1 จาก[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]] สมัยปี [[พ.ศ. 2501]]]]

'''โทรทัศน์''' เป็นระบบ[[โทรคมนาคม]]สำหรับ[[การกระจาย]]และรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำใน[[ภาษาอังกฤษ]] คือ ''television'' ซึ่งเป็นคำผสมจาก[[ภาษากรีก|คำกรีก]] ''tele-'' ("ระยะไกล" — ''โทร-'') และ ''-vision'' ที่มาจาก[[ภาษาละติน]] ''visio'' ("[[การมองเห็น]]" — ''ทัศน์'') มักเรียก[[คำย่อ|ย่อ]]เป็น '''TV''' ('''ทีวี''')

เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี [[พ.ศ. 2468|ค.ศ. 1925]] โดยเป็นผลงานการประดิษฐ์ของ[[จอห์น ลอกกี้ เบรียด]] [[ชาวสกอตแลนด์]]<ref>{{Cite web|url=http://www.pembers.freeserve.co.uk/World-TV-Standards/index.html#Timeline|title=World Analogue Television Standards and Waveforms - section - Timeline|publisher=Histrorical television data 2011|accessdate=29 January 2011}}</ref>

== ตัวเลขที่ถูกบังคับให้ส่งคลื่น ==
* VHF มีจำนวน 12 ช่อง คือ ช่อง 1-12 บางกรณีอาจถึง 13 ช่อง คือจนถึงช่อง 13 นั้นเอง (บางครั้งก็ใช้ตัว[[อักษรโรมัน]] เรียกการส่งคลื่นในบางประเทศ)
* UHF มีจำนวน 72 ช่อง คือ ช่อง 13-84 บางกรณีอาจเริ่มตั้งแต่ช่อง 14 เพราะฉะนั้นมาตรฐานอาจจะเหลือเป็น 71 ช่อง

ทั้งนี้ บางประเทศอาจส่งโทรทัศน์มากกว่ามาตรฐานก็ว่าได้ ยกตัวอย่างเช่น มีบางประเทศอาจจะส่งโทรทัศน์ในระบบวีเอชเอฟตั้งแต่ช่อง 1 ถึงช่อง 18 และระบบยูเอชเอฟตั้งแต่ช่อง 19 ถึงช่อง 72 เป็นต้น และระบบทั้ง 2 เป็นช่องส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่กำหนดได้แน่นอนที่สุด แม้จะออกอากาศโดยใช้เสาอากาศภาคพื้นดิน

== คลื่นความถี่ส่ง ==
แบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้
=== ประเภทเครื่องส่งกับเสาอากาศภาคพื้นดิน ===
* ระบบ[[วีเอชเอฟ]]
* ระบบ[[ยูเอชเอฟ]]
=== ประเภทเครื่องส่งกับดาวเทียม ===
* ระบบ[[อีเอชเอฟ]] สำหรับผ่าน[[ดาวเทียม]]
=== ประเภทอื่น ===
* [[เคเบิลทีวี]] ใช้กับสายไฟเบอร์ออฟติกและดาวเทียม

== ประเภทของโทรทัศน์ ==
ขนาดภาพของโทรทัศน์ส่วนใหญ่ที่ส่งมาตามบ้านมักจะมีขนาดเล็กมากกว่าจอเครื่องรับโทรทัศน์ทั่วไป ขนาดของโทรทัศน์ที่แสดงในตารางเป็นขนาดอย่างน้อยที่สุดที่ภาพจะไม่ถูกบีบอัดให้เล็กลง โดยทั่วไปมักใช้ SDTV ที่ภาพมีขนาดพอดีกับ 8 นิ้วแต่ภาพก็จะมาถูกขยายให้ใหญ่เท่ากับขนาดของเครื่องรับโทรทัศน์ที่อยู่ตามบ้านซึ่งอาจอยู่ที่ 14-28 นิ้ว ส่วนเครื่องรับโทรทัศน์ตั้งแต่แบบ HDTV ขึ้นไปจะเป็นการส่งสัญญาณภาพที่มีขนาดใหญ่มากกว่าเพื่อความชัดของภาพ และโดยทั่วไปมักใช้เครื่องรับโทรทัศน์ขนาด 32 นิ้วขึ้นไปในการรับชมแบบความละเอียดสูง ถ้าเครื่องรับโทรทัศน์ตามบ้านมีขนาดเล็กกว่าขนาดของภาพที่ส่งมา ภาพก็จะถูกบีบอัดให้เล็กลงตามขนาดของเครื่องรับโทรทัศน์

'''led tv''' (Light Emitting Diode) อีกหนึ่งจอภาพที่ถูกพัฒนามาจากแอลซีดีเปลี่ยนการใช้หลอด CCFL มาเป็นหลอดแอลอีดีทำงานร่วมกับ Liquid Crystal บิดแสงสีขาวผ่านแม่สีทั้งสาม (แดง , น้ำเงิน , เขียว) ที่มีคุณบัติเหนือกว่าทั้งการแสดงผลและประหยัดพลังงาน ทำให้ดีไซน์ '''[http://www.directtoshop.com/webapp/wcs/stores/servlet/th/directtoshop/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B5-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B5 led tv]''' ในปัจจุบันบันมีความบางลงมากกลายเป็นเฟอร์นิเจอร์ชิ้นสำคัญภายในบ้าน หน้าจอ '''led tv''' ถูกพัฒนาจนได้ความคมชัดระดับ Ultra HD TV (3840 x 2160) พร้อมเทคโนโลยีภาพแบบ 4K ทำให้ความคมชัดที่ได้เป็นมาตรฐานสูงสุด

{| class="wikitable"
|-
! ชื่อ
! ขนาด
! อัตราส่วน
! อักษรย่อ
|-
| โทรทัศน์ความละเอียดต่ำ
| 320 × 240
| 4 : 3
| LDTV (240p)
|-
| โทรทัศน์ความละเอียดมาตรฐาน
| 640 × 480
| 4 : 3
| SDTV (480p)
|-
| [[โทรทัศน์ความละเอียดมาตรฐาน]] (ภาพกว้าง)
| 1024 × 576
| 16 : 9
| EDTV (576i)
|-
| [[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]] (ภาพกว้าง)
| 1920 × 1080
| 16 : 9
| HDTV (1080i)
|-
| [[โทรทัศน์ความละเอียดสูงมาก]] (ภาพกว้าง)
| 2560 × 1440
| 16 : 9
| EHDTV (1440i)
|-
| [[โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่ง]] (4k) (ภาพกว้าง)
| 3840 × 2160
| 16 : 9
| QHDTV (2160p)
|-
| [[โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งยวด]] (8k) (ภาพกว้าง)
| 7680 × 4320
| 16 : 9
| UHDTV (4320p)
|}

* โทรทัศน์ความละเอียดต่ำ จะใช้ส่งเฉพาะในโทรศัพท์เคลื่อนที่เท่านั้น
* โทรทัศน์ความละเอียดสูงมาก จะไม่มีการใช้ โดยในอนาคตจะข้ามไปใช้โทรทัศน์ 4k แทนและมักเป็นความละเอียดสำหรับสื่อบนอินเทอร์เน็ตเท่านั้น
* โทรทัศน์ 4k เริ่มทดลองออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่นในปี 2012 และเริ่มแพร่ภาพครั้งแรกที่ มหกรรมฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล
* โทรทัศน์ 8k เริ่มทดลองออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่นในปี 2016 และเริ่มแพร่ภาพครั้งแรกที่ มหกรรมกีฬาโอลิมปิก 2020 ที่ประเทศญี่ปุ่นเช่นเดียวกัน

== การจัดเวลาออกอากาศ ==
ประเทศต่างๆ ที่มีเขตเวลาของประเทศเพียงเขตเดียวจะแจ้งเวลาออกอากาศเพียง 1 เวลาตามปกติเท่านั้น เช่น ในประเทศไทย ส่วนประเทศที่มีขนาดใหญ่มากและมีเขตเวลาหลายเขตจะแจ้งเวลาในการออกอากาศของรายการโทรทัศน์ต่างกันออกไป ยกตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา มีช่วงแบ่งเขตเวลาหลักๆ ในประเทศทั้งหมด 4 เขตหลัก กับอีก 4 เขตย่อยและจะนับทางซ้ายสุดของประเทศเป็นเขตที่ 1 ตามมาด้วยจนถึงด้านขวาสุดเป็นเขตที่ 4 โดยในโทรทัศน์จะทำการแจ้งเวลาที่ 2 เขตตรงกลาง คือ เขตที่ 2 และ 3 ของประเทศเท่านั้น ส่วนที่เหลือผู้ชมจะต้องบวกลบเวลากันเอาเอง ซึ่งรายการได้ฉายพร้อมกันทั้งประเทศจะแจ้งเวลาดังนี้

:: '''8/7 Central''' หมายถึง 16:00 (4 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 1 ของประเทศ (Hawaii Time)
:: '''8/7 Central''' หมายถึง 17:00 (5 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 2 ของประเทศ (Alaska Time)
* '''8/7 Central''' หมายถึง 18:00 (6 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 1 ของประเทศ (Pacific Time)
* '''8/7 Central''' หมายถึง 19:00 (7 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 2 ของประเทศ (Mountain Time)
* '''8/7 Central''' หมายถึง 20:00 (8 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 3 ของประเทศ (Central Time)
* '''8/7 Central''' หมายถึง 21:00 (9 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 4 ของประเทศ (Eastern Time)
:: '''8/7 Central''' หมายถึง 22:00 (10 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 3 ของประเทศ (Atlantic Time)
:: '''8/7 Central''' หมายถึง 22:30 (10:30 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 4 ของประเทศ (Newfoundland Time)
:: '''8/7 Central''' หมายถึง 23:00 (11 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 5 ของประเทศ (Saint Pierre & Miquelon Time & Western Greenland Time)

เพราะฉะนั้นถ้าแจ้งเวลามาเป็น '''8/7 Central''' ทางด้านซ้ายสุดของประเทศจะได้รับชมในเวลา 18:00 (6 pm) นาฬิกา (เขตเวลาการออกอากาศของสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่นับแค่ 48 รัฐในแผ่นดินใหญ่ซึ่งผนวกเวลาในส่วนของ Atlantic Time กับ Newfoundland Time เข้าไปไว้กับ Eastern Time และไม่นับรวม Hawaii Time กับ Alaska Time ที่จะห่างออกไปอีก 1-2 ชั่วโมง) แต่โดยส่วนมากแล้วถ้าฉายพร้อมกันทั้งประเทศจะทำให้บางเขตไม่เหมาะสมและตรงกับในช่วงเวลาตอนเย็นหรือเวลาทำงาน ฉะนั้นอีกครึ่งประเทศทางด้านซ้าย 2 ส่วนโดยส่วนมากจะได้รับชมช้ากว่าครึ่งประเทศทางด้านขวา 1-2 ชั่วโมงเพื่อให้ตรงกับเวลาที่ผู้คนเลิกงานแล้ว โดยจะถูกจัดการตารางโดย ''Affiliate'' หรือสถานีย่อยเพื่อความเหมาะสม

== ดูเพิ่ม ==
{{สถานีย่อย2|โทรทัศน์}}
* [[จอภาพ]]
* [[โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
* Albert Abramson, ''The History of Television, 1942 to 2000'', Jefferson, NC, and London, McFarland, 2003, ISBN 0-7864-1220-8.
* [[Pierre Bourdieu]], ''On Television'', The New Press, 2001.
* Tim Brooks and Earle March, ''The Complete Guide to Prime Time Network and Cable TV Shows'', 8th ed., Ballantine, 2002.
* [[Jacques Derrida]] and [[Bernard Stiegler]], ''Echographies of Television'', Polity Press, 2002.
* David E. Fisher and Marshall J. Fisher, ''Tube: the Invention of Television'', Counterpoint, Washington, DC, 1996, ISBN 1-887178-17-1.
* [[Steven Berlin Johnson|Steven Johnson]], ''Everything Bad is Good for You: How Today's Popular Culture Is Actually Making Us Smarter'', New York, Riverhead (Penguin), 2005, 2006, ISBN 1-59448-194-6.
* [[Jerry Mander]], ''Four Arguments for the Elimination of Television'', Perennial, 1978.
* Jerry Mander, ''In the Absence of the Sacred'', Sierra Club Books, 1992, ISBN 0-87156-509-9.
* [[Neil Postman]], ''[[Amusing Ourselves to Death]]: Public Discourse in the Age of Show Business'', New York, Penguin US, 1985, ISBN 0-670-80454-1.
* Evan I. Schwartz, ''The Last Lone Inventor: A Tale of Genius, Deceit, and the Birth of Television'', New York, Harper Paperbacks, 2003, ISBN 0-06-093559-6.
* Beretta E. Smith-Shomade, ''Shaded Lives: African-American Women and Television'', Rutgers University Press, 2002.
* Alan Taylor, ''We, the Media: Pedagogic Intrusions into US Mainstream Film and Television News Broadcasting Rhetoric'', Peter Lang, 2005, ISBN 3-631-51852-8.

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิพจนานุกรม}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Television}}
* [http://www.sciencetech.technomuses.ca/english/collection/television.cfm A History of Television] at the [[Canada Science and Technology Museum]]
* [http://www.museum.tv/archives/etv/index.html The Encyclopedia of Television] at the [[Museum of Broadcast Communications]]
* [http://www.nhk.or.jp/strl/aboutstrl/evolution-of-tv-en/index-e.html The Evolution of TV, A Brief History of TV Technology in Japan] [[NHK]]
* [http://www.tvhistory.tv/ Television's History – The First 75 Years]
* [http://radiostationworld.com/directory/television_standards/default.asp Worldwide Television Standards]
* [http://www.international-television.org/market-data.html Global TV Market Data]
* [http://books.google.com/books?id=CdoDAAAAMBAJ&pg=PA497&dq=popular+mechanic+anti-tank+1941&hl=en&ei=vu6aTObXE5Wnngfs6J3iDw&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CDUQ6AEwAQ#v=onepage&q&f=true ''Television in Color'', April 1944] one of the earliest magazine articles detailing the new technology of color television
* Littleton, Cynthia. [http://www.variety.com/article/VR1118039380 "Happy 70th Birthday, TV Commercial broadcasts bow on July 1, 1941; Variety calls it 'corney'"], ''[[Variety (magazine)|Variety]]'', July 1, 2011. [http://www.webcitation.org/5zvssxXCY WebCitation archive].


[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์]]
[[หมวดหมู่:โทรทัศน์]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐอเมริกา]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสกอตแลนด์]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะการแสดง]]
{{โครงสื่อสาร}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:28, 26 กรกฎาคม 2560

เครื่องรับโทรทัศน์ Braun HF 1 จากเยอรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501

โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี)

เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1925 โดยเป็นผลงานการประดิษฐ์ของจอห์น ลอกกี้ เบรียด ชาวสกอตแลนด์[1]

ตัวเลขที่ถูกบังคับให้ส่งคลื่น

  • VHF มีจำนวน 12 ช่อง คือ ช่อง 1-12 บางกรณีอาจถึง 13 ช่อง คือจนถึงช่อง 13 นั้นเอง (บางครั้งก็ใช้ตัวอักษรโรมัน เรียกการส่งคลื่นในบางประเทศ)
  • UHF มีจำนวน 72 ช่อง คือ ช่อง 13-84 บางกรณีอาจเริ่มตั้งแต่ช่อง 14 เพราะฉะนั้นมาตรฐานอาจจะเหลือเป็น 71 ช่อง

ทั้งนี้ บางประเทศอาจส่งโทรทัศน์มากกว่ามาตรฐานก็ว่าได้ ยกตัวอย่างเช่น มีบางประเทศอาจจะส่งโทรทัศน์ในระบบวีเอชเอฟตั้งแต่ช่อง 1 ถึงช่อง 18 และระบบยูเอชเอฟตั้งแต่ช่อง 19 ถึงช่อง 72 เป็นต้น และระบบทั้ง 2 เป็นช่องส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่กำหนดได้แน่นอนที่สุด แม้จะออกอากาศโดยใช้เสาอากาศภาคพื้นดิน

คลื่นความถี่ส่ง

แบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้

ประเภทเครื่องส่งกับเสาอากาศภาคพื้นดิน

ประเภทเครื่องส่งกับดาวเทียม

ประเภทอื่น

ประเภทของโทรทัศน์

ขนาดภาพของโทรทัศน์ส่วนใหญ่ที่ส่งมาตามบ้านมักจะมีขนาดเล็กมากกว่าจอเครื่องรับโทรทัศน์ทั่วไป ขนาดของโทรทัศน์ที่แสดงในตารางเป็นขนาดอย่างน้อยที่สุดที่ภาพจะไม่ถูกบีบอัดให้เล็กลง โดยทั่วไปมักใช้ SDTV ที่ภาพมีขนาดพอดีกับ 8 นิ้วแต่ภาพก็จะมาถูกขยายให้ใหญ่เท่ากับขนาดของเครื่องรับโทรทัศน์ที่อยู่ตามบ้านซึ่งอาจอยู่ที่ 14-28 นิ้ว ส่วนเครื่องรับโทรทัศน์ตั้งแต่แบบ HDTV ขึ้นไปจะเป็นการส่งสัญญาณภาพที่มีขนาดใหญ่มากกว่าเพื่อความชัดของภาพ และโดยทั่วไปมักใช้เครื่องรับโทรทัศน์ขนาด 32 นิ้วขึ้นไปในการรับชมแบบความละเอียดสูง ถ้าเครื่องรับโทรทัศน์ตามบ้านมีขนาดเล็กกว่าขนาดของภาพที่ส่งมา ภาพก็จะถูกบีบอัดให้เล็กลงตามขนาดของเครื่องรับโทรทัศน์

led tv (Light Emitting Diode) อีกหนึ่งจอภาพที่ถูกพัฒนามาจากแอลซีดีเปลี่ยนการใช้หลอด CCFL มาเป็นหลอดแอลอีดีทำงานร่วมกับ Liquid Crystal บิดแสงสีขาวผ่านแม่สีทั้งสาม (แดง , น้ำเงิน , เขียว) ที่มีคุณบัติเหนือกว่าทั้งการแสดงผลและประหยัดพลังงาน ทำให้ดีไซน์ led tv ในปัจจุบันบันมีความบางลงมากกลายเป็นเฟอร์นิเจอร์ชิ้นสำคัญภายในบ้าน หน้าจอ led tv ถูกพัฒนาจนได้ความคมชัดระดับ Ultra HD TV (3840 x 2160) พร้อมเทคโนโลยีภาพแบบ 4K ทำให้ความคมชัดที่ได้เป็นมาตรฐานสูงสุด

ชื่อ ขนาด อัตราส่วน อักษรย่อ
โทรทัศน์ความละเอียดต่ำ 320 × 240 4 : 3 LDTV (240p)
โทรทัศน์ความละเอียดมาตรฐาน 640 × 480 4 : 3 SDTV (480p)
โทรทัศน์ความละเอียดมาตรฐาน (ภาพกว้าง) 1024 × 576 16 : 9 EDTV (576i)
โทรทัศน์ความละเอียดสูง (ภาพกว้าง) 1920 × 1080 16 : 9 HDTV (1080i)
โทรทัศน์ความละเอียดสูงมาก (ภาพกว้าง) 2560 × 1440 16 : 9 EHDTV (1440i)
โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่ง (4k) (ภาพกว้าง) 3840 × 2160 16 : 9 QHDTV (2160p)
โทรทัศน์ความละเอียดสูงยิ่งยวด (8k) (ภาพกว้าง) 7680 × 4320 16 : 9 UHDTV (4320p)
  • โทรทัศน์ความละเอียดต่ำ จะใช้ส่งเฉพาะในโทรศัพท์เคลื่อนที่เท่านั้น
  • โทรทัศน์ความละเอียดสูงมาก จะไม่มีการใช้ โดยในอนาคตจะข้ามไปใช้โทรทัศน์ 4k แทนและมักเป็นความละเอียดสำหรับสื่อบนอินเทอร์เน็ตเท่านั้น
  • โทรทัศน์ 4k เริ่มทดลองออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่นในปี 2012 และเริ่มแพร่ภาพครั้งแรกที่ มหกรรมฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล
  • โทรทัศน์ 8k เริ่มทดลองออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่นในปี 2016 และเริ่มแพร่ภาพครั้งแรกที่ มหกรรมกีฬาโอลิมปิก 2020 ที่ประเทศญี่ปุ่นเช่นเดียวกัน

การจัดเวลาออกอากาศ

ประเทศต่างๆ ที่มีเขตเวลาของประเทศเพียงเขตเดียวจะแจ้งเวลาออกอากาศเพียง 1 เวลาตามปกติเท่านั้น เช่น ในประเทศไทย ส่วนประเทศที่มีขนาดใหญ่มากและมีเขตเวลาหลายเขตจะแจ้งเวลาในการออกอากาศของรายการโทรทัศน์ต่างกันออกไป ยกตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา มีช่วงแบ่งเขตเวลาหลักๆ ในประเทศทั้งหมด 4 เขตหลัก กับอีก 4 เขตย่อยและจะนับทางซ้ายสุดของประเทศเป็นเขตที่ 1 ตามมาด้วยจนถึงด้านขวาสุดเป็นเขตที่ 4 โดยในโทรทัศน์จะทำการแจ้งเวลาที่ 2 เขตตรงกลาง คือ เขตที่ 2 และ 3 ของประเทศเท่านั้น ส่วนที่เหลือผู้ชมจะต้องบวกลบเวลากันเอาเอง ซึ่งรายการได้ฉายพร้อมกันทั้งประเทศจะแจ้งเวลาดังนี้

8/7 Central หมายถึง 16:00 (4 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 1 ของประเทศ (Hawaii Time)
8/7 Central หมายถึง 17:00 (5 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 2 ของประเทศ (Alaska Time)
  • 8/7 Central หมายถึง 18:00 (6 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 1 ของประเทศ (Pacific Time)
  • 8/7 Central หมายถึง 19:00 (7 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 2 ของประเทศ (Mountain Time)
  • 8/7 Central หมายถึง 20:00 (8 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 3 ของประเทศ (Central Time)
  • 8/7 Central หมายถึง 21:00 (9 pm) นาฬิกาตรงเขตหลักที่ 4 ของประเทศ (Eastern Time)
8/7 Central หมายถึง 22:00 (10 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 3 ของประเทศ (Atlantic Time)
8/7 Central หมายถึง 22:30 (10:30 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 4 ของประเทศ (Newfoundland Time)
8/7 Central หมายถึง 23:00 (11 pm) นาฬิกาตรงเขตย่อยที่ 5 ของประเทศ (Saint Pierre & Miquelon Time & Western Greenland Time)

เพราะฉะนั้นถ้าแจ้งเวลามาเป็น 8/7 Central ทางด้านซ้ายสุดของประเทศจะได้รับชมในเวลา 18:00 (6 pm) นาฬิกา (เขตเวลาการออกอากาศของสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่นับแค่ 48 รัฐในแผ่นดินใหญ่ซึ่งผนวกเวลาในส่วนของ Atlantic Time กับ Newfoundland Time เข้าไปไว้กับ Eastern Time และไม่นับรวม Hawaii Time กับ Alaska Time ที่จะห่างออกไปอีก 1-2 ชั่วโมง) แต่โดยส่วนมากแล้วถ้าฉายพร้อมกันทั้งประเทศจะทำให้บางเขตไม่เหมาะสมและตรงกับในช่วงเวลาตอนเย็นหรือเวลาทำงาน ฉะนั้นอีกครึ่งประเทศทางด้านซ้าย 2 ส่วนโดยส่วนมากจะได้รับชมช้ากว่าครึ่งประเทศทางด้านขวา 1-2 ชั่วโมงเพื่อให้ตรงกับเวลาที่ผู้คนเลิกงานแล้ว โดยจะถูกจัดการตารางโดย Affiliate หรือสถานีย่อยเพื่อความเหมาะสม

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "World Analogue Television Standards and Waveforms - section - Timeline". Histrorical television data 2011. สืบค้นเมื่อ 29 January 2011.

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Albert Abramson, The History of Television, 1942 to 2000, Jefferson, NC, and London, McFarland, 2003, ISBN 0-7864-1220-8.
  • Pierre Bourdieu, On Television, The New Press, 2001.
  • Tim Brooks and Earle March, The Complete Guide to Prime Time Network and Cable TV Shows, 8th ed., Ballantine, 2002.
  • Jacques Derrida and Bernard Stiegler, Echographies of Television, Polity Press, 2002.
  • David E. Fisher and Marshall J. Fisher, Tube: the Invention of Television, Counterpoint, Washington, DC, 1996, ISBN 1-887178-17-1.
  • Steven Johnson, Everything Bad is Good for You: How Today's Popular Culture Is Actually Making Us Smarter, New York, Riverhead (Penguin), 2005, 2006, ISBN 1-59448-194-6.
  • Jerry Mander, Four Arguments for the Elimination of Television, Perennial, 1978.
  • Jerry Mander, In the Absence of the Sacred, Sierra Club Books, 1992, ISBN 0-87156-509-9.
  • Neil Postman, Amusing Ourselves to Death: Public Discourse in the Age of Show Business, New York, Penguin US, 1985, ISBN 0-670-80454-1.
  • Evan I. Schwartz, The Last Lone Inventor: A Tale of Genius, Deceit, and the Birth of Television, New York, Harper Paperbacks, 2003, ISBN 0-06-093559-6.
  • Beretta E. Smith-Shomade, Shaded Lives: African-American Women and Television, Rutgers University Press, 2002.
  • Alan Taylor, We, the Media: Pedagogic Intrusions into US Mainstream Film and Television News Broadcasting Rhetoric, Peter Lang, 2005, ISBN 3-631-51852-8.

แหล่งข้อมูลอื่น