ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมาไม้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KuroiSchwert (คุย | ส่วนร่วม)
(เพิ่ม) แม่แบบ:วงศ์เพียงพอน
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| ordo = [[Carnivora]]
| ordo = [[Carnivora]]
| familia = [[Mustelidae]]
| familia = [[Mustelidae]]
| subfamilia = [[Mustelinae]]
| genus = ''[[Martes]]''
| genus = ''[[Martes]]''
| species = '''''M. flavigula'''''
| species = '''''M. flavigula'''''
บรรทัด 26: บรรทัด 25:
'''หมาไม้''' ({{lang-en|Yellow-throated marten, Himalayan marten, Javan yellow-throated marten}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Martes flavigula}}) [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ชนิดหนึ่งในอันดับ[[สัตว์กินเนื้อ]] มีรูปร่างคล้าย[[พญากระรอกดำ]] (''Ratufa bicolor'') มีลักษณะเด่นคือ ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงหน้าอกมี[[สีเหลือง]] ส่วนหัวด้านบนมี[[สีดำ]] ขาสั้นเมื่อเทียบกับขนาดตัว ตัวผู้มีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หางยาวพอ ๆ กับความยาวลำตัว หมาไม้[[ชนิดย่อย]]ที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของ[[ทวีปเอเชีย]]จะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดที่อาศัยอยู่ใกล้[[เส้นศูนย์สูตร]]
'''หมาไม้''' ({{lang-en|Yellow-throated marten, Himalayan marten, Javan yellow-throated marten}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Martes flavigula}}) [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ชนิดหนึ่งในอันดับ[[สัตว์กินเนื้อ]] มีรูปร่างคล้าย[[พญากระรอกดำ]] (''Ratufa bicolor'') มีลักษณะเด่นคือ ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงหน้าอกมี[[สีเหลือง]] ส่วนหัวด้านบนมี[[สีดำ]] ขาสั้นเมื่อเทียบกับขนาดตัว ตัวผู้มีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หางยาวพอ ๆ กับความยาวลำตัว หมาไม้[[ชนิดย่อย]]ที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของ[[ทวีปเอเชีย]]จะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดที่อาศัยอยู่ใกล้[[เส้นศูนย์สูตร]]


มีความยาวลำตัวและหัว 45-60 [[เซนติเมตร]] ความยาวหาง 38-43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2-3 [[กิโลกรัม]]
มีความยาวลำตัวและหัว 45–60 [[เซนติเมตร]] ความยาวหาง 38–43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–3 [[กิโลกรัม]]


หมาไม้เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวแรงมาก มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก สามารถหากินได้ทั้งบน[[ต้นไม้]]และพื้นดิน กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้ง[[พืช]]และสัตว์ ทั้ง[[สัตว์ฟันแทะ]], [[แมลง]], [[สัตว์เลื้อยคลาน]], [[นก]] หรือ ไข่นก บางครั้งอาจเข้ามาหาอาหารที่นักท่องเที่ยวป่าทิ้งไว้ตามเต๊นท์ นอกจากนี้ยังสามารถกิน[[ผึ้ง]]และ[[น้ำผึ้ง]]เหมือน[[หมี]]ได้อีกด้วย มักหากินในเวลากลางวัน แต่บางครั้งอาจหากินในเวลากลางคืน มักจะหากินแต่เพียงลำพังหรือเป็นคู่ไม่มากกว่านั้น หมาไม้ตัวเมียจะตั้งท้องนาน 220-290 วัน ออกลูกครั้งละ 3-5 ตัว อายุขัยในสถานที่เลี้ยงประมาณ 14 ปี
หมาไม้เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวแรงมาก มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก สามารถหากินได้ทั้งบน[[ต้นไม้]]และพื้นดิน กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้ง[[พืช]]และสัตว์ ทั้ง[[สัตว์ฟันแทะ]], [[แมลง]], [[สัตว์เลื้อยคลาน]], [[นก]] หรือ ไข่นก บางครั้งอาจเข้ามาหาอาหารที่นักท่องเที่ยวป่าทิ้งไว้ตามเต๊นท์ นอกจากนี้ยังสามารถกิน[[ผึ้ง]]และ[[น้ำผึ้ง]]เหมือน[[หมี]]ได้อีกด้วย มักหากินในเวลากลางวัน แต่บางครั้งอาจหากินในเวลากลางคืน มักจะหากินแต่เพียงลำพังหรือเป็นคู่ไม่มากกว่านั้น หมาไม้ตัวเมียจะตั้งท้องนาน 220–290 วัน ออกลูกครั้งละ 3–5 ตัว อายุขัยในสถานที่เลี้ยงประมาณ 14 ปี


เป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตะวันออกของ[[อัฟกานิสถาน]], ภาคเหนือของ[[ปากีสถาน]], [[รัฐแคชเมียร์]]และ[[รัฐอัสสัม]]ของ[[อินเดีย]], ภาคเหนือของ[[พม่า]], ภาคใต้และภาคตะวันออกของ[[จีน]], [[ไต้หวัน]], [[ไทย]], [[ลาว]], ตอนเหนือของ[[กัมพูชา]], ภาคเหนือและภาคกลางของ[[เวียดนาม]], [[มาเลเซีย]], [[เกาะสุมาตรา]]และ[[เกาะบอร์เนียว]]
เป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตะวันออกของ[[อัฟกานิสถาน]], ภาคเหนือของ[[ปากีสถาน]], [[รัฐแคชเมียร์]]และ[[รัฐอัสสัม]]ของ[[อินเดีย]], ภาคเหนือของ[[พม่า]], ภาคใต้และภาคตะวันออกของ[[จีน]], [[ไต้หวัน]], [[ไทย]], [[ลาว]], ตอนเหนือของ[[กัมพูชา]], ภาคเหนือและภาคกลางของ[[เวียดนาม]], [[มาเลเซีย]], [[เกาะสุมาตรา]]และ[[เกาะบอร์เนียว]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:07, 9 กรกฎาคม 2560

หมาไม้
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ไพลโอซีน – ปัจจุบัน
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
วงศ์: Mustelidae
สกุล: Martes
สปีชีส์: M.  flavigula
ชื่อทวินาม
Martes flavigula
Boddaert, 1785
ชนิดย่อย
  • M. f. flavigula
  • M. f. chrysospila
  • M. f. robinsoni
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์

หมาไม้ (อังกฤษ: Yellow-throated marten, Himalayan marten, Javan yellow-throated marten; ชื่อวิทยาศาสตร์: Martes flavigula) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีรูปร่างคล้ายพญากระรอกดำ (Ratufa bicolor) มีลักษณะเด่นคือ ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงหน้าอกมีสีเหลือง ส่วนหัวด้านบนมีสีดำ ขาสั้นเมื่อเทียบกับขนาดตัว ตัวผู้มีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หางยาวพอ ๆ กับความยาวลำตัว หมาไม้ชนิดย่อยที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของทวีปเอเชียจะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดที่อาศัยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร

มีความยาวลำตัวและหัว 45–60 เซนติเมตร ความยาวหาง 38–43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–3 กิโลกรัม

หมาไม้เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวแรงมาก มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งพืชและสัตว์ ทั้งสัตว์ฟันแทะ, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน, นก หรือ ไข่นก บางครั้งอาจเข้ามาหาอาหารที่นักท่องเที่ยวป่าทิ้งไว้ตามเต๊นท์ นอกจากนี้ยังสามารถกินผึ้งและน้ำผึ้งเหมือนหมีได้อีกด้วย มักหากินในเวลากลางวัน แต่บางครั้งอาจหากินในเวลากลางคืน มักจะหากินแต่เพียงลำพังหรือเป็นคู่ไม่มากกว่านั้น หมาไม้ตัวเมียจะตั้งท้องนาน 220–290 วัน ออกลูกครั้งละ 3–5 ตัว อายุขัยในสถานที่เลี้ยงประมาณ 14 ปี

เป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ภาคเหนือของปากีสถาน, รัฐแคชเมียร์และรัฐอัสสัมของอินเดีย, ภาคเหนือของพม่า, ภาคใต้และภาคตะวันออกของจีน, ไต้หวัน, ไทย, ลาว, ตอนเหนือของกัมพูชา, ภาคเหนือและภาคกลางของเวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว

สถานะของหมาไม้ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง[2] [3]

อ้างอิง

  1. "Martes flavigula". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2010.4. 2008. สืบค้นเมื่อ 26 May 2011. Database entry includes a brief justification of why this species is of least concern
  2. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน หน้า 69 โดย กองทุนสัตว์ป่าโลก สำนักงานประเทศไทย (กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543) ISBN 974-87081-5-2
  3. หมาไม้

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Martes flavigula ที่วิกิสปีชีส์