ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร้านนายอินทร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7093996 สร้างโดย 1.47.224.118 (พูดคุย)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
5 มิถุนายน 2553{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ร้านนายอินทร์]]<ref>[http://www.naiin.com/ ร้านนายอินทร์]</ref> เป็นร้านค้าปลีกหนังสือในเครือบริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน)โดยมุ่งหวังให้เป็นเวทีแสดงความสามารถของนักเขียน อีกทั้งเป็นแรงสนับสนุนให้เกิดงานเขียนใหม่ ๆ ที่มีคุณภาพในสังคมไทย ร้านนายอินทร์ได้จัดการประกวด '''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2542 นั้น ร้านนายอินทร์ริเริ่มโครงการประกวดรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ด้วยการจัดประกวดต้นฉบับ ประเภทสารคดีเป็นประเภทแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 จึงเพิ่มประเภทของประกวดเป็นหนังสือภาพสำหรับเด็ก และวรรณกรรมเยาวชนด้วย กระทั่งปีพุทธศักราช 2548 จึงได้จัดประกวดประเภท เรื่องสั้น กวีนิพนธ์ และนวนิยาย รวมประเภทการประกวดจากอดีตถึงปัจจุบันคือ 6 ประเภท<ref>http://amarinpocketbook.com/AwardItem.aspx?AID=1</ref>
[[ร้านนายอินทร์]]<ref>[http://www.naiin.com/ ร้านนายอินทร์]</ref> เป็นร้านค้าปลีกหนังสือในเครือบริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน)โดยมุ่งหวังให้เป็นเวทีแสดงความสามารถของนักเขียน อีกทั้งเป็นแรงสนับสนุนให้เกิดงานเขียนใหม่ ๆ ที่มีคุณภาพในสังคมไทย ร้านนายอินทร์ได้จัดการประกวด '''รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด''' เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2542 นั้น ร้านนายอินทร์ริเริ่มโครงการประกวดรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ด้วยการจัดประกวดต้นฉบับ ประเภทสารคดีเป็นประเภทแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 จึงเพิ่มประเภทของประกวดเป็นหนังสือภาพสำหรับเด็ก และวรรณกรรมเยาวชนด้วย กระทั่งปีพุทธศักราช 2548 จึงได้จัดประกวดประเภท เรื่องสั้น กวีนิพนธ์ และนวนิยาย รวมประเภทการประกวดจากอดีตถึงปัจจุบันคือ 6 ประเภท<ref>http://amarinpocketbook.com/AwardItem.aspx?AID=1</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:53, 4 กรกฎาคม 2560

ร้านนายอินทร์[1] เป็นร้านค้าปลีกหนังสือในเครือบริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด(มหาชน)โดยมุ่งหวังให้เป็นเวทีแสดงความสามารถของนักเขียน อีกทั้งเป็นแรงสนับสนุนให้เกิดงานเขียนใหม่ ๆ ที่มีคุณภาพในสังคมไทย ร้านนายอินทร์ได้จัดการประกวด รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2542 นั้น ร้านนายอินทร์ริเริ่มโครงการประกวดรางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ด้วยการจัดประกวดต้นฉบับ ประเภทสารคดีเป็นประเภทแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 จึงเพิ่มประเภทของประกวดเป็นหนังสือภาพสำหรับเด็ก และวรรณกรรมเยาวชนด้วย กระทั่งปีพุทธศักราช 2548 จึงได้จัดประกวดประเภท เรื่องสั้น กวีนิพนธ์ และนวนิยาย รวมประเภทการประกวดจากอดีตถึงปัจจุบันคือ 6 ประเภท[2]


รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด กำหนดรับผลงานต่างๆเข้าประกวดล่วงหน้า 1 ปี มีกำหนดปิดรับผลงานภายในพฤศจิกายนของปีก่อนหน้า และประกาศผลรางวัลในเดือนมิถุนายน หรือกรกฎาคมของปีที่ประกาศรางวัล อย่างไรก็ตาม ในแต่ละปีอาจไม่มีผลงานใดที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยมของการประกวดประเภทนั้นเลย

ประเภทของรางวัล

รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด แบ่งประเภทของผลงานที่เข้าประกวดเป็น 6 ประเภท ดังนี้

พ.ศ. สารคดี หนังสือ/นิทานภาพสำหรับเด็ก วรรณกรรมเยาวชน เรื่องสั้น กวีนิพนธ์ นิยาย
2543 สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ ภูฏาน มนต์เสน่ห์ในอ้อมกอดหิมาลัย โดย พิสมัย จันทวิมล

สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ กล่องไปรษณีย์สีแดง โดย อภิชาติ เพชรลีลา สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ จากอาสำถึงหยำฉ่า ตำนานคนกวางตุ้งกรุงสยาม โดย ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง

- - - - -
2544 สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ ตะลุยแคชเมียร์ โดย เปรมฤทัย โตกิจเจริญ และ สิบทะเล โดย ธิดารัตน์ น้อยสุวรรณ หนังสือภาพสำหรับเด็กยอดเยี่ยม ได้แก่ เพื่อนใหม่ของลุงหมี ของ ลำพู แสงลภ

หนังสือภาพสำหรับเด็กรางวัลพิเศษ ได้แก่ เด็กชายปากกว้าง ของ สุดไผท เมืองไทย

วรรณกรรมเยาวชนยอดเยี่ยม ได้แก่ เด็กหญิงนางฟ้า โดย ดาราราย และส้มสีม่วง ของ ดาวกระจาย - - -
2545 สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ ฮูย่า! Tadpole ไอ้ลูกกบ โดย อุดมพร สมพงษ์

สารคดีที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ diet diary ไม่เหลือบ่ากว่าแรง โดย เชาวฤทธิ์ ตั้งโชคประเสริฐ

หนังสือภาพสำหรับเด็กที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ได้แก่ ยิ้มของจืด ของ เล็ก มานนท์ วรรณกรรมเยาวชนยอดเยี่ยม ได้แก่ ปราสาทกระต่ายจันทร์ โดย จันทร์เจ้า

วรรณกรรมเยาวชนรางวัลพิเศษ ได้แก่ ครุฑน้อย ของ คอยนุช

- - -
2546 สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ คูนดอกสุดท้าย โดย จุลินทร์ ศรีสะอาด

สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ บ้านไม้ริมทางรถไฟ โดย ราชศักดิ์

หนังสือภาพสำหรับเด็กยอดเยี่ยม ได้แก่ บ้องแบ๊ว โดย พรรณทิพย์ บริบูรณ์ / ทวี ศิริธนชัย วรรณกรรมเยาวชนยอดเยี่ยม ได้แก่ เจ้าชายไม่วิเศษ ของ ปรีดา อัครจันทโชติ

วรรณกรรมเยาวชนรางวัลพิเศษ ได้แก่ เด็กหญิงสวนกาแฟ ของ เม น้อยนาเวศ

- - -
2547 สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ เย็นวันเสาร์ เช้าวันอาทิตย์ ของ คามิน คมนีย์

สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ บางปู นกนางนวล และผองเพื่อนนกน้ำอพยพ โดย พอพล นนทภา

หนังสือภาพสำหรับเด็กยอดเยี่ยม ได้แก่ ลูกบอลเที่ยวชายหาด โดย วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ วรรณกรรมเยาวชนรางวัลพิเศษ ได้แก่ มัจฉานุผจญภัย โดย คีตกาล - - -
2548 สารคดีรางวัลพิเศษ ได้แก่ เล่นกับโลกไกลบ้าน โดย กิจการ ช่วยชูวงศ์ และญี่ปุ่นหลากมุม โดย โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์ ไม่มีผลงานได้รับรางวัล ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ บุหลันแรม โดย เงาจันทร์ กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ นิราศจักรวาล ของ ชัยพร ศรีโบราณ ไม่มีผลงานได้รับรางวัล
2549 สารคดีรองชนะเลิศ ได้แก่ เนปาล จักรวาลกลางอ้อมกอดของขุนเขา โดย เกรียงไกร เกิดศิริ และต้นทางจากมะละแหม่ง โดย องค์ บรรจุน ไม่มีผลงานได้รับรางวัล ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ เก๊าะซารี...มิตรภาพและความตาย โดย ปกาศิต แมนไทยสงค์

เรื่องสั้นรองชนะเลิศ ได้แก่ พรายทะเล โดย เทิดไท นามแทน และการมาถึงและการจากไปของรถไฟสังกะสี โดย ธีรวิชย์ วงศ์มุสิก

ไม่มีผลงานได้รับรางวัล นวนิยายยอดเยี่ยม ได้แก่ รังเลือด ของ สาคร พูลสุข
2550 ไม่มีผลงานได้รับรางวัล ไม่มีผลงานได้รับรางวัล ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ สมภารระดับ 8 โดย ทัศนาวดี

เรื่องสั้นรองชนะเลิศ ได้แก่ เพลงชีวิต 2505 โดย สร้อยสัตตบรรณ และ หลง โดย ภู กระดาษ

กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่เรื่อง มหาชเล โดย วรภ วราภา ไม่มีผลงานได้รับรางวัล
2551 ไม่มีผลงานได้รับรางวัล นิทานภาพสำหรับเด็กยอดเยี่ยม ได้แก่ ฮัดเช้ย โดย กนกวรรณ์ เล็กดำรงศักดิ์ ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ ดอยรวก โดย นทธี ศศิวิมล

เรื่องสั้นรองชนะเลิศ ได้แก่ คนรักธรรมชาติ โดย ณัฐวัฒน์ อุทธังกร และสาย-สัม-พันธ์ โดย หมึกสีม่วง

กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่เรื่อง เราอยู่คนละฟากของภูผา โดย เตือนจิต นวตรังค์ ชินธเนศ

กวีนิพนธ์รองชนะเลิศ ได้แก่เรื่อง ชิ้นส่วนจากสงคราม โดย มูฮัมหมัดฮาริส กาเหย็ม และแดดต่างจังหวัดในภาพเขียน โดย โกสินทร์ ขาวงาม

นวนิยายยอดเยี่ยม ได้แก่ กรงมนุษย์ โดย พจนารถ พจนปกรณ์
2552

สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ แม่น้ำสีเขียวคราม โดย บำเพ็ญ ไชยรักษ์

ไม่มีผลงานได้รับรางวัล ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ ฆาตกร โดย วิทยากร โสวัตร

เรื่องสั้นรองชนะเลิศ ได้แก่ ท่อนแขน โดย สร้อยสัตตบรรณ และที่เกิดเหตุ โดย อนุสรณ์ ศรีคำขวัญ

กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ นัยน์ตาของโคเสี่ยงทาย โดย วิสุทธิ์ ขาวเนียม

กวีนิพนธ์รองชนะเลิศ ได้แก่ ใจชรา โดย วรภ วรภา และวิทยาศาสตร์กถา โดย พลัง เพียงพิรุฬห์

ไม่มีผลงานได้รับรางวัล
2553[3] สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ ไปเป็นเจ้าชาย...ในแคว้นศัตรู โดย คามิน คมนีย์ ไม่มีผลงานได้รับรางวัล วรรณกรรมเยาวชนยอดเยี่ยม ได้แก่ เด็กชายธรรมดาในดินแดนแห่งเวทมนตร์ โดย สาคร พูลสุข เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ บ้านสัตว์เลี้ยง โดย กิติวัฒน์ ตันทะนันท์

เรื่องสั้นรองชนะเลิศ ได้แก่ 3.2 กิโล โดย จัตวาลักษณ์ และมนุษย์ตับหวาน โดย บุณชิต ฟักมี

กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ ร้านหนังสือเทพนิยายที่ชายแดน โดย อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

กวีนิพนธ์รองชนะเลิศ ได้แก่ ผืนผ้าในสงคราม โดย จรรยา อำนาจพันธุ์พงศ์ และเหตุที่ข้าพเจ้าเข้าโรงพยาบาล โดย พัฒนะ ปฐมพงศ

ไม่มีผลงานได้รับรางวัล
2554[4] ไม่มีผลงานได้รับรางวัล นิทานภาพสำหรับเด็กยอดเยี่ยม ได้แก่ คุณช้างโต ช่วยหน่อยได้ไหม (คุณช้างโต หัวใจกระจิดริด) โดย วีระยุทธ์ เลิศสุทธิชัย ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ เหตุการณ์แม่บ้านกรีดร้อง โดย วรณัฐ ตั้งขบวนบุตร

เรื่องสั้นรองชนะเลิศ ได้แก่ เต้นรำไปบนท่อนแขนอ่อนนุ่ม โดย นทธี ศศิวิมล และ เสียงกระซิบของชัยฏอน โดย ปราชญ์ วิปลาส

กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ ความตายของสันติสุข โดย อังคาร จันทาทิพย์

กวีนิพนธ์รองชนะเลิศ ได้แก่ ความทรงจำ โดย ชัชชล อัจนากิตติ และ ณ ขณะเวลาหนึ่ง โดย ธีระสันต์ พันธศิลป์

นวนิยายยอดเยี่ยม ได้แก่ ในรูปเงา (รูปเงาอันเงียบเหงา) โดย เงาจันทร์
2555[5] ไม่มีผลงานได้รับรางวัล ไม่มีผลงานได้รับรางวัล วรรณกรรมเยาวชนยอดเยี่ยม ได้แก่ เกาะที่มีความสุขที่สุดในโลก โดย ลินดา โกมลารชุน เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ ชายชราเบาหวาน โดย ชินรัตน์ สายอุ่นใจ

เรื่องสั้นรองชนะเลิศ ได้แก่ เรื่องการตามหาหนังสือนิยายที่หล่นหายไปในเทศกาลรางวัลซีไรต์ โดย วุฒินันท์ ชัยศรี

กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ หัวใจไดโนเสาร์ โดย จามรี ตันไพฑูรย์ดิถี

กวีนิพนธ์รองชนะเลิศ ได้แก่ เด็กทารกในเมืองบาดาล โดย จรรยา อำนาจพันธุ์พงศ์ และหน้าตู้แช้เครื่องดื่ม โดย วิสุทธิ์ ขาวเนียม

ไม่มีผลงานได้รับรางวัล
2556[6] ไม่มีผลงานได้รับรางวัล หนังสือภาพสำหรับเด็กยอดเยี่ยม ได้แก่ มัลกี้กลัวความมืด โดย คัจฉกุล แก้วเกศ ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ จุนอิจิ กับคอร์ปัส แคลโลซัม ในตอนที่การกระจัดเท่ากับศูนย์ โดย ณฐกร กิจมโนมัย กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ บ้านไม่มีใครอยู่ โดย อังคาร จันทาทิพย์ ไม่มีผลงานได้รับรางวัล
2557[7] สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ เรื่องเล่าจากยอดภูเขาน้ำแข็ง โดย ดาวเดียวดาย ไม่มีผลงานได้รับรางวัล ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ หอนาฬิกาที่หาช่างซ่อมไม่ได้ โดย นฤพนธ์ สุดสวาท กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ สถานการณ์ปกติ โดย บัญชา อ่อนดี นวนิยายยอดเยี่ยม ได้แก่ กาหลมหรทึก โดย ปราปต์
2558[8] สารคดียอดเยี่ยม ได้แก่ สะกดรอยสินไซ โดย นัทธ์หทัย วนาเฉลิม หนังสือภาพสำหรับเด็กยอดเยี่ยม ได้แก่ มีใครอยู่มั้ย โดย ปิยา วัชระสวัสดิ์ ไม่มีผลงานได้รับรางวัล เรื่องสั้นยอดเยี่ยม ได้แก่ จะขอรับผิดทั้งหมดแต่เพียงผู้เดียว โดย จิดานันท์ เหลืองเพียรสมุท กวีนิพนธ์ยอดเยี่ยม ได้แก่ สก๊อย โดย สมหญิง ไม่มีผลงานได้รับรางวัล

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง