ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ละครวิทยุ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ละครวิทยุ''' เป็นการนำการแสดงที่มีอยู่มาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียง ดังนั้นลักษณะของบทละครวิทยุจึงแตกต่างจากบทละครทั่วไป
'''ลละครวิทยุ''' เป็นการนำการแสดงที่มีอยู่มาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียง ดังนั้นลักษณะของบทละครวิทยุจึงแตกต่างจากบทละครทั่วไป
ผู้ประพันธ์จะต้องหาวิธีสร้างจินตนาการให้แก่ผู้ฟัง ให้สามารถเข้าใจและนึกถึงภาพความเป็นไปของเรื่องได้ นับตั้งแต่บุคลิกลักษณะ กิริยาท่าทาง อุปนิสัยใจคอของ
ผู้ประพันธ์จะต้องหาวิธีสร้างจินตนาการให้แก่ผู้ฟัง ให้สามารถเข้าใจและนึกถึงภาพความเป็นไปของเรื่องได้ นับตั้งแต่บุคลิกลักษณะ กิริยาท่าทาง อุปนิสัยใจคอของ
ตัวละคร อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ จะต้องแสดงออกทางคำพูดของตัวละคร ใส่ความรู้สึกทางคำพูด การเจรจาบทต้องใส่อารมณ์เป็นพิเศษ เพราะผู้ฟังมองไม่เห็น
ตัวละคร อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ จะต้องแสดงออกทางคำพูดของตัวละคร ใส่ความรู้สึกทางคำพูด การเจรจาบทต้องใส่อารมณ์เป็นพิเศษ เพราะผู้ฟังมองไม่เห็น
ภาพตัวละคร บทละครวิทยุต้องมี '''บทบรรยาย''' แทรกเพื่อช่วยให้การดำเนินเรื่องกระชับ เป็นการเล่าประวัติ เหตุการณ์ต่างๆ เสริมจาก บทละคร
ภาพตัวละคร บทละครวิทยุต้องมี '''บทบรรยาย''' แทรกเพื่อช่วยให้การดำเนินเรื่องกระชับ เป็นการเล่าประวัติ เหตุการณ์ต่างๆ เสริมจาก บทละคร

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:08, 3 กรกฎาคม 2560

ลละครวิทยุ เป็นการนำการแสดงที่มีอยู่มาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียง ดังนั้นลักษณะของบทละครวิทยุจึงแตกต่างจากบทละครทั่วไป ผู้ประพันธ์จะต้องหาวิธีสร้างจินตนาการให้แก่ผู้ฟัง ให้สามารถเข้าใจและนึกถึงภาพความเป็นไปของเรื่องได้ล นับตั้งแต่บุคลิกลักษณะ กิริยาท่าทาง อุปนิสัยใจคอของ ตัวละคร อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ จะต้องแสดงออกทางคำพูดของตัวละคร ใส่ความรู้สึกทางคำพูด การเจรจาบทต้องใส่อารมณ์เป็นพิเศษ เพราะผู้ฟังมองไม่เห็น ภาพตัวละคร บทละครวิทยุต้องมี บทบรรยาย แทรกเพื่อช่วยให้การดำเนินเรื่องกระชับ เป็นการเล่าประวัติ เหตุการณ์ต่างๆ เสริมจาก บทละคร ผู้ประพันธ์อาจใช้วิธีบรรยายโดยสอดแทรกไว้ในบทสนทนาของตัวละคร ผู้ควบคุมการแสดง จะต้องมีความสามารถเข้าใจ ตอนไหนจะให้ตัวละครใช้เสียงอย่างไร เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศของเรื่อง ตัวละครสำหรับบทละครวิทยุต้องมีตัวสำคัญประมาณ 3-4 ตัวและต้องเลือกผู้แสดงที่มี เสียงแตกต่างกันมากๆ มิฉะนั้นผู้ฟังจะแยกเสียงไม่ออกว่าเป็นบทของตัวละครตัวไหน [1]

ขั้นตอนในการดำเนินเรื่อง

ขั้นตอนการดำเนินเรื่อง แต่ละคณะมีวิธีการนำเสนอที่เป็นสูตรคล้ายๆกัน คือ เริ่มต้น ผู้บรรยายทักทายผู้ฟัง บอกชื่อคณะละคร วัน เวลาที่ออกอากาศ ชื่อเรื่อง ชื่อเจ้าของบทประพันธ์ ชื่อผู้เขียนบทละครวิทยุ เล่าถึงความเดิมตอนที่แล้ว ผู้ฟังบางคนอาจไม่ได้ฟัง เพื่อย้ำเตือนความทรงจำของผู้ฟังอีกครั้ง

รายชื่อคณะละครวิทยุ ในประเทศไทย

บริษัท ลีเวอร์ บราเธอร์ (ประเทศไทย) จำกัด] - เรื่องจากนักเขียน(บางเรื่องผลิตก่อนนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์) โดยมีนักเขียนหลักอาทิ "รพีพร" และ "บุษยมาศ" เรื่องเด่น "ลูกนก, ละอองดาว, หนึ่งในทรวง" ซึ่งเน้นดารานักแสดงละครโทรทัศน์และภาพยนตร์มาแสดงในละครวิทยุ]] [[รุ่นใหม่เริ่ม พ.ศ. 2547 [จัตุรัส (พงศกร-ฐานิศร์ จิรา)- ละครวิทยุบนคลื่นเอฟเอ็ม ละครวิทยุออนไลน์ - แนวอิงประวัติศาสตร์/รักโรแมนติก/แฟนตาซี/วัยรุ่น - เรื่องเด่น "เจ้าสาวพญายม, จากคืนนั้นถึงวันนี้, ขุนเหล็ก, มหาราชนเรศวร วีรกษัตริย์แห่งอโยธยา, มหากาพย์แห่งอโยธยา, อาถรรพ์ออนเรดิโอ"]] ล่าสุด พ.ศ. 2559 กำลังออกอากาศเรื่อง "เล่าขานตำนานวีรชนอยุธยา" อำนวยการผลิตโดย สวท .กองทัพบก - อบจ. พระนครศรีอยุธยา

อ้างอิง

  1. ละครวิทยุ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช สัมฤทธิบัตร หน้า 4-9-55
  2. อารีย์ นักดนตรี,โลกมายาของอารีย์, กายมารุต 2546 ISBN 974-91018-4-7 หน้า 304
  3. อารีย์ นักดนตรี,หน้า 300-303