ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูทูบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:


== การปิดกั้นข่าวสารในประเทศไทย ==
== การปิดกั้นข่าวสารในประเทศไทย ==
ผู้ใช้ใน[[ประเทศไทย]]ได้ถูกปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ยูทูบ ตั้งแต่คืนวันที่ [[3 เมษายน]] [[พ.ศ. 2550]] หลังจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว [[สิทธิชัย โภไคยอุดม|นายสิทธิชัย โภไคยอุดม]] [[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] พยายามขอความร่วมมือหลายครั้ง ให้กูเกิลนำคลิปวิดีโอตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ออก แต่ถูกปฏิเสธโดยได้ให้เหตุผลว่าคลิปวิดีโออื่นที่โจมตีประธานาธิบดี[[จอร์จ ดับเบิลยู. บุช]] รุนแรงมากกว่านี้ ซึ่งคลิปวิดีโอดังกล่าว อัปโหลดโดยผู้ใช้ชื่อ paddidda เมื่อวันที่ [[29 มีนาคม]] พ.ศ. 2550 มีผู้ชมไปแล้ว มากกว่า 16,000 ครั้ง และมีมากกว่า 500 ความคิดเห็นด้วยกัน <ref>[http://www.reuters.com/article/companyNewsAndPR/idUSN0432594820070404?pageNumber=1 Thailand blocks YouTube for clip mocking king] ข่าวจากสำนักข่าวรอยเตอร์ {{en icon}}</ref> <ref>[http://www.bangkokpost.com/topstories/topstories.php?id=117871 YouTube disappears from Thai Internet] ข่าวจากบางกอกโพสต์ {{en icon}}</ref> หลังจากที่ได้มีการออกข่าว จำนวนผู้ชมไปขึ้นไปถึงกว่า 66,553 ครั้งก่อนที่คลิปวิดีโอดังกล่าวจะถูกย้ายออกจากระบบ แม้ว่าคลิปวิดีโอได้ถูกเอาออกไปแล้ว แต่เว็บไซต์ยังคงถูกบล็อกต่อไป โดยนายสิทธิชัย โภไคยอุดมได้ให้เหตุผลว่ายังมีภาพตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์คงเหลืออยู่ และต้องการให้เอาออกทั้งหมด<ref>[http://www.washingtonpost.com/wp-dyn/content/article/2007/04/05/AR2007040500694.html YouTube Clip Out, but Thai Ban Continues ] {{en icon}}</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9500000039464 Update - ยูทูบลบคลิปแล้ว แต่ไอซีทียังแบนเว็บไซต์ต่อเนื่อง]</ref> ในปัจจุบัน (วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550) ได้มีการยกเลิกบล็อกยูทูบ จนสามารถใช้งานได้ตามปกติแล้ว หลังจากที่ยูทูบตกลงที่จะบล็อกวิดีโอที่มีการหมิ่นประมาทในไทยต่างๆ
ผู้ใช้ใน[[ประเทศไทย]]ได้ถูกปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ยูทูบ ตั้งแต่คืนวันที่ [[3 เมษายน]] [[พ.ศ. 2550]] หลังจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว [[สิทธิชัย โภไคยอุดม|นายสิทธิชัย โภไคยอุดม]] [[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] พยายามขอความร่วมมือหลายครั้ง ให้กูเกิลนำคลิปวิดีโอตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ออก แต่ถูกปฏิเสธโดยได้ให้เหตุผลว่าคลิปวิดีโออื่นที่โจมตีประธานาธิบดี[[จอร์จ ดับเบิลยู. บุช]] รุนแรงมากกว่านี้ ซึ่งคลิปวิดีโอดังกล่าว อัปโหลดโดยผู้ใช้ชื่อ paddidda เมื่อวันที่ [[29 มีนาคม]] พ.ศ. 2550 มีผู้ชมไปแล้ว มากกว่า 16,000 ครั้ง และมีมากกว่า 500 ความคิดเห็นด้วยกัน <ref>[http://www.reuters.com/article/companyNewsAndPR/idUSN0432594820070404?pageNumber=1 Thailand blocks YouTube for clip mocking king] ข่าวจากสำนักข่าวรอยเตอร์ {{en icon}}</ref> <ref>[http://www.bangkokpost.com/topstories/topstories.php?id=117871 YouTube disappears from Thai Internet] ข่าวจากบางกอกโพสต์ {{en icon}}</ref> หลังจากที่ได้มีการออกข่าว จำนวนผู้ชมไปขึ้นไปถึงกว่า 66,553 ครั้งก่อนที่คลิปวิดีโอดังกล่าวจะถูกย้ายออกจากระบบ แม้ว่าคลิปวิดีโอได้ถูกเอาออกไปแล้ว แต่เว็บไซต์ยังคงถูกบล็อกต่อไป โดยนายสิทธิชัย โภไคยอุดมได้ให้เหตุผลว่ายังมีภาพตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์คงเหลืออยู่ และต้องการให้เอาออกทั้งหมด<ref>[http://www.washingtonpost.com/wp-dyn/content/article/2007/04/05/AR2007040500694.html YouTube Clip Out, but Thai Ban Continues ] {{en icon}}</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9500000039464 Update - ยูทูบลบคลิปแล้ว แต่ไอซีทียังแบนเว็บไซต์ต่อเนื่อง]</ref> ในปัจจุบัน (วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550) ได้มีการยกเลิกบล็อกยูทูบ จนสามารถใช้งานได้ตามปกติแล้ว หลังจากที่ยูทูบตกลงที่จะบล็อกวิดีโอที่มีการหมิ่นประมาทในไทยต่าง ๆ<ref>{{cite news | first= | last= | coauthors= | title=Ban on YouTube lifted after deal | date= 31 สิงหาคม พ.ศ. 2550 | publisher= | url =http://nationmultimedia.com/2007/08/31/headlines/headlines_30047192.php | work =[[The Nation]] | pages = | accessdate = | language = }}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:04, 31 สิงหาคม 2550

สัญลักษณ์ยูทูบ
สัญลักษณ์ยูทูบ

ยูทูบ[1] (YouTube) เป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดและแลกเปลี่ยนคลิปวีดีโอผ่านทางเว็บไซต์ ก่อตั้งเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดย แชด เฮอร์ลีย์, สตีฟ เชง และ ยาวีด คาริม อดีตพนักงานบริษัทเพย์พาล ในปัจจุบันยูทูบมีพนักงาน 67 คน[2] และมีสำนักงานอยู่ที่ ซานบรูโนในมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกูเกิล

การทำงานของเว็บไซต์แสดงผลวีดีโอผ่านทางในลักษณะ อะโดบี แฟลช ซึ่งเนื้อหามีหลากหลายรวมถึง รายการโทรทัศน์มิวสิกวิดีโอ วีดีโอจากทางบ้าน งานโฆษณาทางโทรทัศน์ และบางส่วนจากภาพยนตร์ และผู้ใช้สามารถนำวีดีโอไปใส่ไว้ในบล็อกหรือเว็บไซต์ส่วนตัวได้ ผ่านทางคำสั่งที่กำหนดให้ของยูทูบ ยูทูบถือว่าเป็นหนึ่งในเว็บ 2.0 ชั้นนำของอันดับต้น ๆ ของโลก

ยูทูบมีนโนบายไม่ให้อัปโหลดคลิปที่มีภาพโป๊เปลือยและคลิปที่มีลิขสิทธิ์นอกเสียจากเจ้าของลิขสิทธิ์ได้อัปโหลดเอง โดยผู้ใช้สามารถทำการแจ้งลบได้

ในวันที่ 9 ตุลาคม 2549 กูเกิลได้ประกาศซื้อบริษัทยูทูบเป็นจำนวนเงินทั้งหมด 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 6 หมื่นล้านบาท ซึ่งได้เสร็จสิ้นไปเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 และในวันที่ 20 มิถุนายน 2550 ยูทูบ ได้เพิ่มโดเมนไปอีก 9 แห่ง สำหรับ 9 ประเทศ ได้แก่ บราซิล ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น ฮอลแลนด์ โปแลนด์ สเปน ไอร์แลนด์ และ สหราชอาณาจักร[3]

การปิดกั้นข่าวสารในประเทศไทย

ผู้ใช้ในประเทศไทยได้ถูกปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ยูทูบ ตั้งแต่คืนวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2550 หลังจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว นายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พยายามขอความร่วมมือหลายครั้ง ให้กูเกิลนำคลิปวิดีโอตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ออก แต่ถูกปฏิเสธโดยได้ให้เหตุผลว่าคลิปวิดีโออื่นที่โจมตีประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช รุนแรงมากกว่านี้ ซึ่งคลิปวิดีโอดังกล่าว อัปโหลดโดยผู้ใช้ชื่อ paddidda เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2550 มีผู้ชมไปแล้ว มากกว่า 16,000 ครั้ง และมีมากกว่า 500 ความคิดเห็นด้วยกัน [4] [5] หลังจากที่ได้มีการออกข่าว จำนวนผู้ชมไปขึ้นไปถึงกว่า 66,553 ครั้งก่อนที่คลิปวิดีโอดังกล่าวจะถูกย้ายออกจากระบบ แม้ว่าคลิปวิดีโอได้ถูกเอาออกไปแล้ว แต่เว็บไซต์ยังคงถูกบล็อกต่อไป โดยนายสิทธิชัย โภไคยอุดมได้ให้เหตุผลว่ายังมีภาพตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์คงเหลืออยู่ และต้องการให้เอาออกทั้งหมด[6][7] ในปัจจุบัน (วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2550) ได้มีการยกเลิกบล็อกยูทูบ จนสามารถใช้งานได้ตามปกติแล้ว หลังจากที่ยูทูบตกลงที่จะบล็อกวิดีโอที่มีการหมิ่นประมาทในไทยต่าง ๆ[8]

อ้างอิง

  1. คำว่า YouTube ทับศัพท์ว่า ยูทูบ แทนที่ ยูทิวบ์ โดยใช้หลักการทับศัพท์ตามสำเนียงอังกฤษอเมริกัน เนื่องจากเป็นบริษัทที่ก่อตั้งในสหรัฐอเมริกาและเป็นชื่อเรียกที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
  2. จำนวนพนักงานในยูทูบ
  3. ข่าว ยูทูบเปิดโดเมนย่อย 9 แห่ง จากกูเกิลบล็อก
  4. Thailand blocks YouTube for clip mocking king ข่าวจากสำนักข่าวรอยเตอร์ (อังกฤษ)
  5. YouTube disappears from Thai Internet ข่าวจากบางกอกโพสต์ (อังกฤษ)
  6. YouTube Clip Out, but Thai Ban Continues (อังกฤษ)
  7. Update - ยูทูบลบคลิปแล้ว แต่ไอซีทียังแบนเว็บไซต์ต่อเนื่อง
  8. "Ban on YouTube lifted after deal". The Nation. 31 สิงหาคม พ.ศ. 2550. {{cite news}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น