ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทรรศน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเพิ่มจาก en, interwiki, cat
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
{{โปร}}
{{โปร}}


'''ปฏิทรรศน์''' หรือ พาราด็อกซ์ (Paradox) คือ ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่เป็นจริงอย่างชัดเจน แต่นำไปสู่[[ข้อขัดแย้ง|ความขัดแย้งในตัวเอง]] หรือสถานการณ์ที่อยู่นอกความคิดทั่วไป โดยทั่วไปแล้ว อาจเป็นไปได้ว่า ประโยคดังกล่าวนี้แท้จริงแล้วอาจไม่ได้นำไปสู่สภาวะขัดแย้ง ผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ใช่ข้อขัดแย้งจริง ๆ หรือข้อกำหนดในตอนต้นอาจไม่จริงหรือไม่สามารถเป็นจริงพร้อม ๆ กันได้ คำว่าปฏิทรรศน์หรือพาราด็อกซ์มักถูกใช้แทนที่ไปมากับคำว่า[[ข้อขัดแย้ง]] อย่างไรก็ตาม แนวคิดทั้งสองนั้นไม่เหมือนกันเสียทีเดียว ในขณะที่ข้อขัดแย้งประกาศสิ่งที่ตรงกันข้ามกับตัวเอง หลาย ๆ ปฏิทรรศน์กลับมีทางออกหรือคำอธิบาย
'''ปฏิทรรศน์''' หรือ พาราด็อกซ์ (Paradox) คือ '''ปัญหา''' จากคำกล่าวอ้างที่ขัดกัน


== ปฏิทรรศน์ ในทาง ปรัชญา และ ตรรกะ ==
อย่างไรก็ตาม พาราด็อกซ์บางอย่าง มีคำอธิบายรองรับแล้วในปัจจุบัน

== พาราด็อกซ์ ในทาง ปรัชญา และ ตรรกะ ==
* [[ปัญหาเรื่องเจตจำนงเสรีและการหยั่งรู้]] ([[:en:Free will and omniscience paradox|Free will and omniscience paradox]]) ถ้ามีผู้หยั่งรู้และรู้ว่าจะเกิดอะไรอยู่ก่อนแล้ว(ผู้กำหนดโชคชะตาคน) ก็แสดงว่า เราไม่มีเจตจำนงที่เป็นอิสระ
* [[ปัญหาเรื่องเจตจำนงเสรีและการหยั่งรู้]] ([[:en:Free will and omniscience paradox|Free will and omniscience paradox]]) ถ้ามีผู้หยั่งรู้และรู้ว่าจะเกิดอะไรอยู่ก่อนแล้ว(ผู้กำหนดโชคชะตาคน) ก็แสดงว่า เราไม่มีเจตจำนงที่เป็นอิสระ


== พาราด็อกซ์ ในทาง คณิตศาสตร์ และ สถิติศาสตร์ ==
== ปฏิทรรศน์ ในทาง คณิตศาสตร์ และ สถิติศาสตร์ ==
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}

== พาราด็อกซ์ ในทาง คณิตศาสตร์ ==
* ปัญหาว่า เราไม่สามารถวิ่งแข่งแซงเต่าได้ โดยต่อให่เต่าอยู่ในตำแหน่งข้างหน้า พิจารณาเมื่อเราเดินทางไปอยู่ที่ตำแหน่งเดิมของเต่า เต่าก็เปลี่ยนตำแหน่งไปข้างงหน้าเสียแล้ว
* ปัญหาว่า เราไม่สามารถวิ่งแข่งแซงเต่าได้ โดยต่อให่เต่าอยู่ในตำแหน่งข้างหน้า พิจารณาเมื่อเราเดินทางไปอยู่ที่ตำแหน่งเดิมของเต่า เต่าก็เปลี่ยนตำแหน่งไปข้างงหน้าเสียแล้ว


== พาราด็อกซ์ ในทาง เศรษฐศาสตร์ ==
== ปฏิทรรศน์ ในทาง เศรษฐศาสตร์ ==

*[[Leontief Paradox]] ปัญหาว่าทำไม ประเทศที่อุดมด้วยปัจจัยทุนจึงมีการส่งออกสินค้าที่ใช้แรงงานเป็นหลัก
*[[Leontief Paradox]] ปัญหาว่าทำไม ประเทศที่อุดมด้วยปัจจัยทุนจึงมีการส่งออกสินค้าที่ใช้แรงงานเป็นหลัก
*[[Giffen paradox]] ปัญหาว่าทำไมบางสินค้า ยิ่งขึ้นราคา คนยิ่งซื้อ (เช่น ขนมปัง ในยามสงคราม)
*[[Giffen paradox]] ปัญหาว่าทำไมบางสินค้า ยิ่งขึ้นราคา คนยิ่งซื้อ (เช่น ขนมปัง ในยามสงคราม)
*[[Diamond-water paradox]] (paradox of value) ปัญหาว่าทำไมน้ำจึงถูกกว่าเพชร ทั้งๆที่คนต้องการน้ำมากกว่า
*[[Diamond-water paradox]] (paradox of value) ปัญหาว่าทำไมน้ำจึงถูกกว่าเพชร ทั้งๆที่คนต้องการน้ำมากกว่า
*[[Bertrand Paradox]]
*[[Bertrand Paradox]]

[[หมวดหมู่:ปรัชญา]]
[[หมวดหมู่:ตรรกศาสตร์]]

[[bs:Paradoks]]
[[ca:Paradoxa]]
[[cs:Paradox]]
[[da:Paradoks]]
[[de:Paradoxon]]
[[en:Paradox]]
[[es:Paradoja]]
[[eo:Paradokso]]
[[fr:Paradoxe]]
[[gl:Paradoxo]]
[[ko:역설]]
[[hi:परोक्षक]]
[[io:Paradoxo]]
[[id:Paradoks]]
[[it:Paradosso]]
[[he:פרדוקס]]
[[ka:პარადოქსი]]
[[lt:Paradoksas]]
[[hu:Paradoxon]]
[[nl:Paradox (logica)]]
[[ja:パラドックス]]
[[no:Paradoks]]
[[pl:Paradoks]]
[[pt:Paradoxo]]
[[ru:Парадокс]]
[[simple:Paradox]]
[[sl:Paradoks (logika)]]
[[fi:Paradoksi]]
[[sv:Paradox]]
[[tr:Paradoks]]
[[uk:Парадокс]]
[[zh:悖论]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:58, 29 สิงหาคม 2550

ปฏิทรรศน์ หรือ พาราด็อกซ์ (Paradox) คือ ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่เป็นจริงอย่างชัดเจน แต่นำไปสู่ความขัดแย้งในตัวเอง หรือสถานการณ์ที่อยู่นอกความคิดทั่วไป โดยทั่วไปแล้ว อาจเป็นไปได้ว่า ประโยคดังกล่าวนี้แท้จริงแล้วอาจไม่ได้นำไปสู่สภาวะขัดแย้ง ผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ใช่ข้อขัดแย้งจริง ๆ หรือข้อกำหนดในตอนต้นอาจไม่จริงหรือไม่สามารถเป็นจริงพร้อม ๆ กันได้ คำว่าปฏิทรรศน์หรือพาราด็อกซ์มักถูกใช้แทนที่ไปมากับคำว่าข้อขัดแย้ง อย่างไรก็ตาม แนวคิดทั้งสองนั้นไม่เหมือนกันเสียทีเดียว ในขณะที่ข้อขัดแย้งประกาศสิ่งที่ตรงกันข้ามกับตัวเอง หลาย ๆ ปฏิทรรศน์กลับมีทางออกหรือคำอธิบาย

ปฏิทรรศน์ ในทาง ปรัชญา และ ตรรกะ

ปฏิทรรศน์ ในทาง คณิตศาสตร์ และ สถิติศาสตร์

  • ปัญหาว่า เราไม่สามารถวิ่งแข่งแซงเต่าได้ โดยต่อให่เต่าอยู่ในตำแหน่งข้างหน้า พิจารณาเมื่อเราเดินทางไปอยู่ที่ตำแหน่งเดิมของเต่า เต่าก็เปลี่ยนตำแหน่งไปข้างงหน้าเสียแล้ว

ปฏิทรรศน์ ในทาง เศรษฐศาสตร์

  • Leontief Paradox ปัญหาว่าทำไม ประเทศที่อุดมด้วยปัจจัยทุนจึงมีการส่งออกสินค้าที่ใช้แรงงานเป็นหลัก
  • Giffen paradox ปัญหาว่าทำไมบางสินค้า ยิ่งขึ้นราคา คนยิ่งซื้อ (เช่น ขนมปัง ในยามสงคราม)
  • Diamond-water paradox (paradox of value) ปัญหาว่าทำไมน้ำจึงถูกกว่าเพชร ทั้งๆที่คนต้องการน้ำมากกว่า
  • Bertrand Paradox