ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิสุทธิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
<br>'''วิสุทธิ''' หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด<br>
<br>'''วิสุทธิ''' หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด<br>
'''วิสุทธิ ๗''' ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] หมายถึง การชำระสัตว์ให้บริสุทธิ์ด้วยการบำเพ็ญ[[ไตรสิกขา]] ให้บริบูรณ์เป็นขั้นๆ ไปโดยลำดับ มี ๗ ขั้น คือ
'''วิสุทธิ ๗''' ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] หมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปเป็นขั้นๆ การชำระสัตว์ให้บริสุทธิ์ด้วยการบำเพ็ญ[[ไตรสิกขา]] ให้บริบูรณ์เป็นขั้นๆ ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือ[[นิพพาน]] มี ๗ ขั้น คือ
*'''ศีลวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ศีล]]
*'''ศีลวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การรักษาศีลตามภูมิขั้นของตนให้บริสุทธิ์ และให้เป็นไปเพื่อ[[สมาธิ]] ([[ปาริสุทธิศิล]] ๔ ใน[[คัมภีร์วิสุทธิมรรค]]) ได้แก่
#''ปาฏิโมกขสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวมในพระ[[ปาฏิโมกข์]] เว้นจากข้อห้าม ทำตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดใน[[สิกขาบท]]ทั้งหลาย
#''อินทรียสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวม[[อินทรีย์]] ระวังไม่ให้[[บาป]][[อกุศลธรรม]]ครอบงำ เมื่อรับรู้อินทรีย์ทั้งหก
#''อาชีวปาริสุทธิศีล'' ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ
#''ปัจจัยสันนิสิตศีล'' ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอย[[ปัจจัยสี่]] ให้เป็นไปตามความหมายและประโยชน์ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วย[[ตัณหา]]
*'''จิตตวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[จิต]]
*'''จิตตวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[จิต]]
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]]
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:24, 26 สิงหาคม 2550


วิสุทธิ หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด
วิสุทธิ ๗ ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปเป็นขั้นๆ การชำระสัตว์ให้บริสุทธิ์ด้วยการบำเพ็ญไตรสิกขา ให้บริบูรณ์เป็นขั้นๆ ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือนิพพาน มี ๗ ขั้น คือ

  1. ปาฏิโมกขสังวรศีล ศีลคือความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจากข้อห้าม ทำตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดในสิกขาบททั้งหลาย
  2. อินทรียสังวรศีล ศีลคือความสำรวมอินทรีย์ ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมครอบงำ เมื่อรับรู้อินทรีย์ทั้งหก
  3. อาชีวปาริสุทธิศีล ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ
  4. ปัจจัยสันนิสิตศีล ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอยปัจจัยสี่ ให้เป็นไปตามความหมายและประโยชน์ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วยตัณหา
  • จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต
  • ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ
  • กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย
  • มัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
  • ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน
  • ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ กล่าวคือ มรรคญาณ

อ้างอิง

ดูเพิ่ม