ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันราชมงคล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
เมื่อปีพุทธศักราช [[2531]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า [[สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล]] ซึ่งหมายความว่า สถาบันเทคโนโลยีอันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา ในวันที่ [[15 กันยายน]] พุทธศักราช 2531 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มีภารกิจหลักคือ จัดการศึกษา (ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี และระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต) ทำการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทำนุบำรุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เมื่อปีพุทธศักราช [[2531]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า [[สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล]] ซึ่งหมายความว่า สถาบันเทคโนโลยีอันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา ในวันที่ [[15 กันยายน]] พุทธศักราช 2531 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มีภารกิจหลักคือ จัดการศึกษา (ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี และระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต) ทำการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทำนุบำรุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

จากหนังสือจารึกราชมงคลกับคำกล่าวของท่าน ศาสตราจารย์สวาสดิ์ ไชยคุณา อธิการบดีท่านแรกผู้บุกเบิกสถาบันฯ กล่าวถึงการพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของสถาบันไว้ว่า '''ล้นเกล้าฯพระปิยมหาราชปลดปล่อยทาสให้เป็นไทยฉันใด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงปลดปล่อยนักเรียนอาชีวฯชั้นสองให้เป็นไทฉันนั้น''' นับจากปีแรกทีได้เริ่มสถาปนาวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ในปี 2518 และดำเนินการเรียนการสอนเรื่อยมาจนกระทั่งมาถึงวันแห่งความภาคภูมิใจ อีกหกปีต่อมา ในปี 2524 เป็นวันแห่งสำเร็จและภาคภูมิใจสูงสุดของชาวราชมงคล เมื่อบัณฑิตอาชีวศึกษาซึ่งพัฒนามาจากนักเรียนชั้นสองของสังคม มีโอกาสรับพระราชทานปริญญาบัตรกับพระหัตถ์พระองค์เอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ทรงเปี่ยมด้วยพระมหากรุณาธิคุณอย่างสูงสุด เสด็จมาพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของบัณฑิตวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในปีพุทธศักราช 2524 และอีกสามครั้งคือ ปีพุทธศักราช 2527,ปีพุทธศักราช 2530,และในปี 2533 และทรงพระกรุณาพระราชทานชื่อสถาบันให้ใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งหมายถึงสถาบันเทคโนโลยีอันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา ได้เสด็จมาพระราชทานปริญญาบัตรในนามมงคลใหม่ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล อีกครั้งในปีพุทธศักราช 2533 ตั้งแต่ในปีพุทธศักราช 2534 เป็นต้นมาก็ทรงพระกรุณาฯโปรดเกล้าฯให้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาพระราชทานปริญญาบัตรแด่บัณฑิตเป็นประจำทุกปี จนถึงปัจจุบัน พิธิพระราชทานปริญญาบัตรตั้งแต่ครั้งนั้นจนถึงปัจจุบันเป็นประจำทุกปี

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:14, 26 สิงหาคม 2550

เมื่อปีพุทธศักราช 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งหมายความว่า สถาบันเทคโนโลยีอันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา ในวันที่ 15 กันยายน พุทธศักราช 2531 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มีภารกิจหลักคือ จัดการศึกษา (ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี และระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต) ทำการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทำนุบำรุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

จากหนังสือจารึกราชมงคลกับคำกล่าวของท่าน ศาสตราจารย์สวาสดิ์ ไชยคุณา อธิการบดีท่านแรกผู้บุกเบิกสถาบันฯ กล่าวถึงการพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของสถาบันไว้ว่า ล้นเกล้าฯพระปิยมหาราชปลดปล่อยทาสให้เป็นไทยฉันใด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงปลดปล่อยนักเรียนอาชีวฯชั้นสองให้เป็นไทฉันนั้น นับจากปีแรกทีได้เริ่มสถาปนาวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ในปี 2518 และดำเนินการเรียนการสอนเรื่อยมาจนกระทั่งมาถึงวันแห่งความภาคภูมิใจ อีกหกปีต่อมา ในปี 2524 เป็นวันแห่งสำเร็จและภาคภูมิใจสูงสุดของชาวราชมงคล เมื่อบัณฑิตอาชีวศึกษาซึ่งพัฒนามาจากนักเรียนชั้นสองของสังคม มีโอกาสรับพระราชทานปริญญาบัตรกับพระหัตถ์พระองค์เอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ทรงเปี่ยมด้วยพระมหากรุณาธิคุณอย่างสูงสุด เสด็จมาพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของบัณฑิตวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในปีพุทธศักราช 2524 และอีกสามครั้งคือ ปีพุทธศักราช 2527,ปีพุทธศักราช 2530,และในปี 2533 และทรงพระกรุณาพระราชทานชื่อสถาบันให้ใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งหมายถึงสถาบันเทคโนโลยีอันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา ได้เสด็จมาพระราชทานปริญญาบัตรในนามมงคลใหม่ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล อีกครั้งในปีพุทธศักราช 2533 ตั้งแต่ในปีพุทธศักราช 2534 เป็นต้นมาก็ทรงพระกรุณาฯโปรดเกล้าฯให้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาพระราชทานปริญญาบัตรแด่บัณฑิตเป็นประจำทุกปี จนถึงปัจจุบัน พิธิพระราชทานปริญญาบัตรตั้งแต่ครั้งนั้นจนถึงปัจจุบันเป็นประจำทุกปี