ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนิจิเร็ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanatsoka (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||นิกายหนึ่งในพุทธศาสนา|นิชิเร็ง}}
{{ความหมายอื่น||นิกายหนึ่งในพุทธศาสนา|นิชิเร็ง}}
[[ไฟล์:Nichiren statue Japan.jpg|thumb|right|อนุสาวรีย์พระนิชิเร็น ด้านนอกฮอนโนะจิ ใน อำเภอเทะระมะชิ [[กรุงเกียวโต]]]]
[[ไฟล์:Nichiren statue Japan.jpg|thumb|right|อนุสาวรีย์พระนิชิเร็น ด้านนอกฮอนโนะจิ ใน อำเภอเทะระมะชิ [[กรุงเกียวโต]]]]
'''พระนิชิเร็ง''' ({{lang-ja|(日蓮)}}) หรือ '''พระนิชิเร็งไดโชนิน''' (สำหรับ[[นิชิเร็นโชชู]]) เป็นพระ[[ภิกษุ]][[ชาวญี่ปุ่น]] ซึ่งนิกาย[[นิชิเร็งโชชู]]เชื่อว่าท่านเป็น[[พระพุทธเจ้า]]แท้จริง ท่านคือผู้สถาปนาและริเริ่มเผยแผ่คำสอน [[นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียว|นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว]] บนพื้นฐานของ[[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]] อันเป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธนิกาย[[นิชิเร็ง]] ซึ่งปัจจุบันได้แตกกิ่งก้านออกไปเป็นนิกายย่อย ๆ ประมาณ 32 นิกายในญี่ปุ่น และมีหลายลัทธิยืมคำสอนของท่านไปใช้ด้วย นิกายหลัก ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ [[นิชิเร็งโชชู]] และ [[นิชิเร็งชู]] แต่นิกายแรกจะเป็นที่รู้จักมากกว่าเพราะมีสานุศิษย์กระจายอยู่ทั่วโลกแม้แต่ในเมืองไทย
'''พระนิชิเร็ง''' ({{lang-ja|日蓮}}) หรือ '''พระนิชิเร็งไดโชนิน''' (ใช้ในนิกาย[[นิชิเร็งโชชู]]) เป็นพระ[[ภิกษุ]][[ชาวญี่ปุ่น]] ซึ่งนิกาย[[นิชิเร็งโชชู]]เชื่อว่าท่านเป็น[[พระพุทธเจ้า]]แท้จริง ท่านคือผู้สถาปนาและริเริ่มเผยแผ่คำสอน "[[นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียว|นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว]]" บนพื้นฐานของ[[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]] อันเป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธนิกาย[[นิชิเร็ง]] ซึ่งปัจจุบันได้แตกกิ่งก้านออกไปเป็นนิกายย่อย ๆ ประมาณ 32 นิกายในญี่ปุ่น และมีหลายลัทธิยืมคำสอนของท่านไปใช้ด้วย นิกายหลัก ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ[[นิชิเร็งโชชู]]และ[[นิชิเร็งชู]] แต่นิกายแรกจะเป็นที่รู้จักมากกว่าเพราะมีสานุศิษย์กระจายอยู่ทั่วโลกแม้แต่ในเมืองไทย


ตลอดชีวิตของพระนิชิเร็งฯ ท่านทุ่มเทเผยแผ่คำสอน โดยท่านเรียกร้องให้ชาวญี่ปุ่นละทิ้งคำสอนของนิกายและความเชื่อต่าง ๆ หันมายึดมั่นใน''สัทธรรมปุณฑริกสูตร''แต่เพียง[[พระสูตร]]เดียว เพราะท่านกล่าวว่าเป็นพระสูตรที่สูงส่งที่สุดและเป็นเจตนาที่แท้จริงของ[[พระศากยมุนีพุทธเจ้า]] เมื่อทำเช่นนั้นแล้วจึงจะช่วยให้ประเทศญี่ปุ่นสงบสุข มั่นคง รอดพ้นจากปัญหานานาประการทั้งจากภัยธรรมชาติ ฤดูกาลแปรปรวน โรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำรุนแรง กบฏภายใน และภัยจาก[[จักรวรรดิมองโกล]] ซึ่งญี่ปุ่นกำลังเผชิญอยู่ในขณะนั้น
ตลอดชีวิตของพระนิชิเร็ง ท่านทุ่มเทเผยแผ่คำสอน โดยท่านเรียกร้องให้ชาวญี่ปุ่นละทิ้งคำสอนของนิกายและความเชื่อต่าง ๆ หันมายึดมั่นใน''สัทธรรมปุณฑรีกสูตร''แต่เพียง[[พระสูตร]]เดียว เพราะท่านกล่าวว่าเป็นพระสูตรที่สูงส่งที่สุดและเป็นเจตนาที่แท้จริงของ[[พระศากยมุนีพุทธเจ้า]] เมื่อทำเช่นนั้นแล้วจึงจะช่วยให้ประเทศญี่ปุ่นสงบสุข มั่นคง รอดพ้นจากปัญหานานาประการทั้งจากภัยธรรมชาติ ฤดูกาลแปรปรวน โรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำรุนแรง กบฏภายใน และภัยจาก[[จักรวรรดิมองโกล]] ซึ่งญี่ปุ่นกำลังเผชิญอยู่ในขณะนั้น


แต่หนทางในการเผยแผ่คำสอนของพระนิชิเร็งไม่เรียบง่าย บางครั้งถึงขั้นต้องแลกกับชีวิต ด้วยเหตุนี้วงการพุทธศาสนามหายานจึงสดุดีท่านว่า ''ผู้อุทิศชีวิตต่อสัทธรรมปุณฑริกสูตร''
แต่หนทางในการเผยแผ่คำสอนของพระนิชิเร็งไม่เรียบง่าย บางครั้งถึงขั้นต้องแลกกับชีวิต ด้วยเหตุนี้วงการพุทธศาสนามหายานจึงสดุดีท่านว่า ''ผู้อุทิศชีวิตต่อสัทธรรมปุณฑรีกสูตร''


== ภูมิหลัง ==
== ภูมิหลัง ==
[[ไฟล์:Nichirendishonin.gif|thumb|left|พระนิชิเร็น]]
[[ไฟล์:Nichirendishonin.gif|thumb|left|พระนิชิเร็น]]
พระนิชิเร็งเกิดในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1222 (พ.ศ. 1765) หรือปีที 1 แห่งสมัยโจโอ ในยามรุ่งอรุณ เป็นบุตรชาวประมง หมู่บ้านโตโจ ตำบลนางาสะ เมืองอาวะ (ปัจจุบันคือ[[จังหวัดชิบะ]]) ประเทศญี่ปุ่น นามในวัยเด็กคือ'''เซ็นนิชิ มาโร''' นามพ่อคือมิคุนิ โนะ ไทฝุ ชิเงะทาดะ นามแม่คืออุเมะงิขุ
พระนิชิเร็งเกิดในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1222 (พ.ศ. 1765) หรือปีที 1 แห่งสมัยโจโอ ในยามรุ่งอรุณ เป็นบุตรชาวประมง หมู่บ้านโตโจ ตำบลนางาสะ เมืองอาวะ (ปัจจุบันคือ[[จังหวัดชิบะ]]) ประเทศญี่ปุ่น นามในวัยเด็กคือ'''เซ็นนิชิ มาโร''' โยมบิดาชื่อมิคุนิ โนะ ไทฝุ ชิเงะทาดะ โยมมารดาชื่ออุเมะงิขุ


พระนิชิเร็งออกจากบ้านเพื่อศึกษาเล่าเรียน ณ วัดเซอิโซจิเมื่ออายุได้ 12 ปี หลังรับการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วจึงบรรพชาเป็นภิกษุเมื่ออายุ 16 ปี และเปลี่ยนชื่อเป็น'''เซโชโบะ เร็นโช โดยมีพระอาจารย์นามโดเซ็นโบะคอยดูแลสั่งสอน และเพื่อหวังให้การศึกษาคำสอนศาสนาพุทธลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นท่านจึงเริ่มไปเยือนวัดและนิกายต่างๆ ในเมืองคามาคูระ เกียวโต นาราและภูเขาฮิเออิ
พระนิชิเร็งออกจากบ้านเพื่อศึกษาเล่าเรียน ณ วัดเซอิโซจิเมื่ออายุได้ 12 ปี หลังรับการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วจึงบรรพชาเป็นภิกษุเมื่ออายุ 16 ปี และเปลี่ยนชื่อเป็น'''เซโชโบะ เร็นโช''' โดยมีพระอาจารย์นามโดเซ็นโบะคอยดูแลสั่งสอน และเพื่อหวังให้การศึกษาคำสอนศาสนาพุทธลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นท่านจึงเริ่มไปเยือนวัดและนิกายต่าง ๆ ในเมืองคามาคูระ เกียวโต นาราและภูเขาฮิเออิ


== สถาปนาคำสอน ==
== สถาปนาคำสอน ==
พระนิชิเร็งสถาปนาคำสอนเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1253 (พ.ศ. 1796) หรือปีที่ 5 แห่งสมัยเค็นโช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น '''นิชิเรน''' ขณะอายุได้ 32 ปี ซึ่ง''นิชิ''แปลว่าดวงอาทิตย์ ''เร็น''แปลว่าดอกบัว (แห่งสัทธรรมปุณฑริกสูตร)
พระนิชิเร็งสถาปนาคำสอนเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1253 (พ.ศ. 1796) หรือปีที่ 5 แห่งสมัยเค็นโช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น '''นิชิเร็ง''' ขณะอายุได้ 32 ปี ซึ่ง''นิชิ''แปลว่าดวงอาทิตย์ ''เร็ง''แปลว่าดอกบัว (แห่งสัทธรรมปุณฑริกสูตร)


ท่านเริ่มเทศนาประกาศคำสอนของท่านครั้งแรก ณ วัดเซอิโซจิ วัดที่ท่านได้รับการศึกษาในวัยเด็กนั่นเอง ท่านได้เริ่มประณามคำสอนนิกายต่าง ๆ ต่อหน้าสาธารณชนเป็นครั้งแรกและอย่างต่อเนื่องด้วยการท้าพระภิกษุในนิกายต่างๆ มาโต้วาทีธรรม ด้วยเหตุนี้จึงสร้างความไม่พอใจและถูกวิพากษ์วิจารณ์ในกลุ่มผู้นับถือนิกายเหล่านั้นเป็นอย่างมากและนับวันจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น
ท่านเริ่มเทศนาประกาศคำสอนของท่านครั้งแรก ณ วัดเซอิโซจิ วัดที่ท่านได้รับการศึกษาในวัยเด็กนั่นเอง ท่านได้เริ่มประณามคำสอนนิกายต่าง ๆ ต่อหน้าสาธารณชนเป็นครั้งแรกและอย่างต่อเนื่องด้วยการท้าพระภิกษุในนิกายต่างๆ มาโต้วาทีธรรม ด้วยเหตุนี้จึงสร้างความไม่พอใจและถูกวิพากษ์วิจารณ์ในกลุ่มผู้นับถือนิกายเหล่านั้นเป็นอย่างมากและนับวันจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


== เหตุการณ์สำคัญ ==
== เหตุการณ์สำคัญ ==
ในชีวิตพระนิชิเรนฯมีเหตุการณ์สำคัญๆหลายครั้ง ซึ่งนิกายนิชิเรนเรียกว่า'''การบีฑาธรรม''' ตัวอย่างเช่น
ในชีวิตพระนิชิเร็งมีเหตุการณ์สำคัญๆหลายครั้ง ซึ่งนิกายนิชิเรนเรียกว่า'''การบีฑาธรรม''' ตัวอย่างเช่น
* ถูกซามูไรรุมทำร้ายกลางดึก ณ ที่พักที่มัตสึบางะยัตสึ
* ถูกซามูไรรุมทำร้ายกลางดึก ณ ที่พักที่มัตสึบางะยัตสึ
* ต้องโทษประหารชีวิตโดยการตัดคอที่ทัตซูโนะคูชิ แต่ประหารไม่สำเร็จ
* ต้องโทษประหารชีวิตโดยการตัดคอที่ทัตซูโนะคูชิ แต่ประหารไม่สำเร็จ
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
นิกาย[[นิชิเร็งโชชู]] นั้นเชื่อว่า พระนิชิเรนเป็นพระพุทธสมัยธรรมปลาย (1500 ปีหลังจากที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน) เดิม โดยเชื่อว่าคำสอนของพระศากยมุนีพุทธเจ้าก่อนหน้าสัทธรรมปุณฑริกสูตร เป็นเพียงคำสอนชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งสัทธรรมปุณฑริกสูตรถูกเทศนาก่อนที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน 8 ปี
นิกาย[[นิชิเร็งโชชู]] นั้นเชื่อว่า พระนิชิเรนเป็นพระพุทธสมัยธรรมปลาย (1500 ปีหลังจากที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน) เดิม โดยเชื่อว่าคำสอนของพระศากยมุนีพุทธเจ้าก่อนหน้าสัทธรรมปุณฑริกสูตร เป็นเพียงคำสอนชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งสัทธรรมปุณฑริกสูตรถูกเทศนาก่อนที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน 8 ปี


== แต่งตั้งพระสงฆ์อาวุโส 6 รูป ==
== แต่งตั้งพระภิกษุอาวุโส 6 รูป ==
ก่อนที่พระนิชิเรน จะดับขันธ์ท่านได้ทำการแต่งตั้งพระสงฆ์อาวุโส 6 รูปขึ้นเป็นผู้ทำหน้าที่เป็นแกนนำในการเผยแผ่คำสอนของท่านต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย
ก่อนที่พระนิชิเรน จะดับขันธ์ท่านได้แต่งตั้งพระภิกษุอาวุโส 6 รูปขึ้นเป็นผู้ทำหน้าที่เป็นแกนนำในการเผยแผ่คำสอนของท่านต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย
* [[พระนิกโค]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนโชชู]] และ [[วัดไทเซขิจิ]]
* [[พระนิกโก]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนโชชู]] และ [[วัดไทเซขิจิ]]
* [[พระนิตโช]] - ภายหลังเป็นลูกศิษย์พระนิกโค
* [[พระนิตโช]] - ภายหลังเป็นลูกศิษย์พระนิกโก
* [[พระนิโค]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนชู]] และเป็นเจ้าอาวาส[[วัดคุอนจิ]]
* [[พระนิโก]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนชู]] และเป็นเจ้าอาวาส[[วัดคุอนจิ]]
* [[พระนิชโช]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนชู]]
* [[พระนิชโช]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนชู]]
* [[พระนิชิโร]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนชู]]
* [[พระนิชิโร]] - ก่อตั้ง[[นิชิเรนชู]]
* [[พระนิชิจิ]] - ภายหลังเดินทางไปประเทศจีน
* [[พระนิชิจิ]] - ภายหลังเดินทางไป[[ประเทศจีน]]


== มรณภาพ ==
== การดับขันธ์ ==
พระนิชิเร็นไดโชนินดับขันธ์ ณ คฤหาสน์ของอิเคงามิ มูเนนากะ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1282 (พ.ศ. 1825) เวลา 8 นาฬิกา รวมอายุได้ 60 ปี โดยก่อนการดับขันธ์พระนิชิเรนฯได้เทศนาริชโชอันโกกุรอนให้แก่สานุศิษย์ที่มารวมตัวกันเป็นครั้งสุดท้าย มีตำนานที่เล่าต่อกันมาว่ายามที่ท่านดับขันธ์นั้นเกิดแผ่นดินไหวชนิดไม่รุนแรง และดอกซากุระในสวนคฤหาสน์อิเคงามิผลิบานนอกฤดูกาล
พระนิชิเร็งมรณภาพ ณ คฤหาสน์ของอิเคงามิ มูเนนากะ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1282 (พ.ศ. 1825) เวลา 8.00 น. สิริอายุได้ 60 ปี โดยก่อนมรณภาพท่านได้เทศนาริชโชอันโกกุรอนให้แก่สานุศิษย์ที่มารวมตัวกันเป็นครั้งสุดท้าย มีตำนานที่เล่าต่อกันมาว่ายามที่ท่านมรณภาพนั้นเกิดแผ่นดินไหวชนิดไม่รุนแรง และดอกซากุระในสวนคฤหาสน์อิเคงามิผลิบานนอกฤดูกาล


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 68: บรรทัด 68:


{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
{{สืบตำแหน่ง|ตำแหน่ง=[[พระสังฆราชแห่งนิชิเรนโชชู]] |ปี=[[พ.ศ. 1796]] - [[พ.ศ. 1825]] |ก่อนหน้า=ไม่มี (องค์แรก)|ถัดไป=[[พระนิกโค โชนิน]]}}
|ตำแหน่ง=[[สังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู]]
|ปี= พ.ศ. 1796-1825
|ก่อนหน้า=ไม่มี
|ถัดไป=[[พระนิกโก]]
}}
{{จบกล่อง}}
{{จบกล่อง}}
{{เทพในคติพุทธศาสนาแบบญี่ปุ่น}}


[[หมวดหมู่:ภิกษุชาวญี่ปุ่น]]
{{เทพในคติพุทธศาสนาแบบญี่ปุ่น}}
{{birth|1222}}{{death|1282}}
[[หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายนิชิเร็ง]]
[[หมวดหมู่:สังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุในนิกายนิชิเร็ง]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในยุคคะมะกุระ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดชิบะ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:16, 27 เมษายน 2560

อนุสาวรีย์พระนิชิเร็น ด้านนอกฮอนโนะจิ ใน อำเภอเทะระมะชิ กรุงเกียวโต

พระนิชิเร็ง (ญี่ปุ่น: 日蓮) หรือ พระนิชิเร็งไดโชนิน (ใช้ในนิกายนิชิเร็งโชชู) เป็นพระภิกษุชาวญี่ปุ่น ซึ่งนิกายนิชิเร็งโชชูเชื่อว่าท่านเป็นพระพุทธเจ้าแท้จริง ท่านคือผู้สถาปนาและริเริ่มเผยแผ่คำสอน "นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว" บนพื้นฐานของสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อันเป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็ง ซึ่งปัจจุบันได้แตกกิ่งก้านออกไปเป็นนิกายย่อย ๆ ประมาณ 32 นิกายในญี่ปุ่น และมีหลายลัทธิยืมคำสอนของท่านไปใช้ด้วย นิกายหลัก ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือนิชิเร็งโชชูและนิชิเร็งชู แต่นิกายแรกจะเป็นที่รู้จักมากกว่าเพราะมีสานุศิษย์กระจายอยู่ทั่วโลกแม้แต่ในเมืองไทย

ตลอดชีวิตของพระนิชิเร็ง ท่านทุ่มเทเผยแผ่คำสอน โดยท่านเรียกร้องให้ชาวญี่ปุ่นละทิ้งคำสอนของนิกายและความเชื่อต่าง ๆ หันมายึดมั่นในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรแต่เพียงพระสูตรเดียว เพราะท่านกล่าวว่าเป็นพระสูตรที่สูงส่งที่สุดและเป็นเจตนาที่แท้จริงของพระศากยมุนีพุทธเจ้า เมื่อทำเช่นนั้นแล้วจึงจะช่วยให้ประเทศญี่ปุ่นสงบสุข มั่นคง รอดพ้นจากปัญหานานาประการทั้งจากภัยธรรมชาติ ฤดูกาลแปรปรวน โรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำรุนแรง กบฏภายใน และภัยจากจักรวรรดิมองโกล ซึ่งญี่ปุ่นกำลังเผชิญอยู่ในขณะนั้น

แต่หนทางในการเผยแผ่คำสอนของพระนิชิเร็งไม่เรียบง่าย บางครั้งถึงขั้นต้องแลกกับชีวิต ด้วยเหตุนี้วงการพุทธศาสนามหายานจึงสดุดีท่านว่า ผู้อุทิศชีวิตต่อสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

ภูมิหลัง

พระนิชิเร็น

พระนิชิเร็งเกิดในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1222 (พ.ศ. 1765) หรือปีที 1 แห่งสมัยโจโอ ในยามรุ่งอรุณ เป็นบุตรชาวประมง หมู่บ้านโตโจ ตำบลนางาสะ เมืองอาวะ (ปัจจุบันคือจังหวัดชิบะ) ประเทศญี่ปุ่น นามในวัยเด็กคือเซ็นนิชิ มาโร โยมบิดาชื่อมิคุนิ โนะ ไทฝุ ชิเงะทาดะ โยมมารดาชื่ออุเมะงิขุ

พระนิชิเร็งออกจากบ้านเพื่อศึกษาเล่าเรียน ณ วัดเซอิโซจิเมื่ออายุได้ 12 ปี หลังรับการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วจึงบรรพชาเป็นภิกษุเมื่ออายุ 16 ปี และเปลี่ยนชื่อเป็นเซโชโบะ เร็นโช โดยมีพระอาจารย์นามโดเซ็นโบะคอยดูแลสั่งสอน และเพื่อหวังให้การศึกษาคำสอนศาสนาพุทธลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นท่านจึงเริ่มไปเยือนวัดและนิกายต่าง ๆ ในเมืองคามาคูระ เกียวโต นาราและภูเขาฮิเออิ

สถาปนาคำสอน

พระนิชิเร็งสถาปนาคำสอนเมื่อวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1253 (พ.ศ. 1796) หรือปีที่ 5 แห่งสมัยเค็นโช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น นิชิเร็ง ขณะอายุได้ 32 ปี ซึ่งนิชิแปลว่าดวงอาทิตย์ เร็งแปลว่าดอกบัว (แห่งสัทธรรมปุณฑริกสูตร)

ท่านเริ่มเทศนาประกาศคำสอนของท่านครั้งแรก ณ วัดเซอิโซจิ วัดที่ท่านได้รับการศึกษาในวัยเด็กนั่นเอง ท่านได้เริ่มประณามคำสอนนิกายต่าง ๆ ต่อหน้าสาธารณชนเป็นครั้งแรกและอย่างต่อเนื่องด้วยการท้าพระภิกษุในนิกายต่างๆ มาโต้วาทีธรรม ด้วยเหตุนี้จึงสร้างความไม่พอใจและถูกวิพากษ์วิจารณ์ในกลุ่มผู้นับถือนิกายเหล่านั้นเป็นอย่างมากและนับวันจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น

การยื่นริชโชอันโกกุรอน

ในบรรดาบทธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเร็งบทธรรมนิพนธ์ริชโชอันโกกุรอน (การก่อตั้งคำสอนที่ถูกถ้วนแท้จริงเพื่อก่อเกิดประเทศสันติ) นับว่าโดดเด่นที่สุด ท่านยื่นหนังสือนี้ในวันที่ 16 กรกฎาคม 1260 ต่อรัฐบาลทหารคามาคูระภายใต้การบริหารของผู้สำเร็จราชการโฮโจ โทกิโยริซึ่งปกครองญี่ปุ่นในขณะนั้น ใจความหนังสือเสนอให้รัฐบาลและชาวญี่ปุ่นเลิกให้การสนับสนุนนับถือนิกายต่างๆ หันมานับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรแต่เพียงอย่างเดียวบ้านเมืองจึงจะสงบสุขพ้นหายนะ แต่ไม่ได้รับการสนใจจากรัฐบาลแม้ท่านจะยื่นหนังสือนี้ 3 ครั้งด้วยกัน จนทำให้ผู้นำประเทศหันมาปฏิบัติศรัทธาพุทธรรมของพระนิชิเร็นไดโชนิน

เหตุการณ์สำคัญ

ในชีวิตพระนิชิเร็งมีเหตุการณ์สำคัญๆหลายครั้ง ซึ่งนิกายนิชิเรนเรียกว่าการบีฑาธรรม ตัวอย่างเช่น

  • ถูกซามูไรรุมทำร้ายกลางดึก ณ ที่พักที่มัตสึบางะยัตสึ
  • ต้องโทษประหารชีวิตโดยการตัดคอที่ทัตซูโนะคูชิ แต่ประหารไม่สำเร็จ
  • ถูกเนรเทศไปเกาะซาโดะ
  • ถูกเนรเทศไปแหลมอิสึ
  • การประหารชีวิตและคุมขังกลุ่มชาวนาผู้นับถือที่อัตสึฮาระ

การบรรลุพุทธภาวะ

นิกายนิชิเร็งโชชู นั้นเชื่อว่า พระนิชิเรนเป็นพระพุทธสมัยธรรมปลาย (1500 ปีหลังจากที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน) เดิม โดยเชื่อว่าคำสอนของพระศากยมุนีพุทธเจ้าก่อนหน้าสัทธรรมปุณฑริกสูตร เป็นเพียงคำสอนชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งสัทธรรมปุณฑริกสูตรถูกเทศนาก่อนที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน 8 ปี

แต่งตั้งพระภิกษุอาวุโส 6 รูป

ก่อนที่พระนิชิเรน จะดับขันธ์ท่านได้แต่งตั้งพระภิกษุอาวุโส 6 รูปขึ้นเป็นผู้ทำหน้าที่เป็นแกนนำในการเผยแผ่คำสอนของท่านต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย

มรณภาพ

พระนิชิเร็งมรณภาพ ณ คฤหาสน์ของอิเคงามิ มูเนนากะ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1282 (พ.ศ. 1825) เวลา 8.00 น. สิริอายุได้ 60 ปี โดยก่อนมรณภาพท่านได้เทศนาริชโชอันโกกุรอนให้แก่สานุศิษย์ที่มารวมตัวกันเป็นครั้งสุดท้าย มีตำนานที่เล่าต่อกันมาว่ายามที่ท่านมรณภาพนั้นเกิดแผ่นดินไหวชนิดไม่รุนแรง และดอกซากุระในสวนคฤหาสน์อิเคงามิผลิบานนอกฤดูกาล

อ้างอิง

  • ฝ่ายต่างประเทศ, นิชิเรนโชชู, คู่มือการปฏิบัติ
  • Letters of Nichiren. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1996 ISBN 0-231-10384-0
  • Selected Writings of Nichiren. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1990 ISBN 0-231-07260-0
    Full disclosure statement: Soka Gakkai retains the copyrights on the foregoing two works and financed their publication; nonetheless, they show some deviation from similar works currently published under Soka Gakkai's own name.
  • The Record of the Orally Transmitted Teachings, hard cover, Burton Watson, Translator, Soka Gakkai, 2005, ISBN 4-412-01286-7
  • The Soka Gakkai Dictionary of Buddhism (Seikyo Press), Tokyo, 2002.
  • The Writings of Nichiren Daishonin, Soka Gakkai, 1999.)
  • Nichiren Daishōnin Shōden (日蓮大聖人正伝: "Orthodox biography of Nichiren Daishonin"), Taisekiji, 1981
  • A Dictionary of Buddhist Terms and Concepts, Nichiren Shoshu International Center (NSIC), Tokyo, 1983. ISBN 4-88872-014-2.
  • Kirimura, Yasuji: The Life of Nichiren Daishonin. NSIC, 1980
    Note: NSIC, publisher of the foregoing two works, is no longer connected with Nichiren Shoshu.
  • Heisei Shimpen Nichiren Daishonin Gosho (平成新編 日蓮大聖人御書: "Heisei new compilation of Nichiren Daishonin's writings"), Taisekiji, 1994
  • The Writings of Nichiren Daishonin. Soka Gakkai, Tokyo, 1999.

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า พระนิจิเร็ง ถัดไป
ไม่มี สังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู
(พ.ศ. 1796-1825)
พระนิกโก