ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wipawee Boorana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wipawee Boorana (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
เค เจ โฮลสติ (K.J.Holsti)ได้ให้คำนิยามของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไว้ว่า ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละสังคมเกิดขึ้นจากการที่รัฐสนับสนุนหรือไม่สนับสนุนก็ได้<ref>จุฑาทิพ คล้ายทับทิม.(2553).(หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ).หน้า2</ref>
เค เจ โฮลสติ (K.J.Holsti)ได้ให้คำนิยามของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไว้ว่า ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละสังคมเกิดขึ้นจากการที่รัฐสนับสนุนหรือไม่สนับสนุนก็ได้<ref>จุฑาทิพ คล้ายทับทิม.(2553).(หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ).หน้า2</ref>
โดยสรุป ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ ความสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยน ที่เกิดขึ้นระหว่างรัฐกับรัฐโดยตรง ตัวแทนของรัฐหรือไม่ใช่ตัวแทนของรัฐและเอกชน เป็นไปได้ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆของรัฐที่ต้องการแลกเปลี่ยนและเผยแผ่ไปให้รัฐอื่นๆ เช่น การศึกษา [[วัฒนธรรม]] หรือวัตถุประสงค์ทางด้านการเมือง โดยความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นไปในรูปแบบของการร่วมมือหรือรูปแบบของการขัดแย้ง เพื่อป้องกันสิทธิและรักษาผลประโยชน์ของรัฐ จึงเปรียบเสมือนกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นเหรียญสองด้าน
โดยสรุป ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ ความสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยน ที่เกิดขึ้นระหว่างรัฐกับรัฐโดยตรง ตัวแทนของรัฐหรือไม่ใช่ตัวแทนของรัฐและเอกชน เป็นไปได้ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆของรัฐที่ต้องการแลกเปลี่ยนและเผยแผ่ไปให้รัฐอื่นๆ เช่น การศึกษา [[วัฒนธรรม]] หรือวัตถุประสงค์ทางด้านการเมือง โดยความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นไปในรูปแบบของการร่วมมือหรือรูปแบบของการขัดแย้ง เพื่อป้องกันสิทธิและรักษาผลประโยชน์ของรัฐ จึงเปรียบเสมือนกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นเหรียญสองด้าน
=ขอบเขตของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ=
'''ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีเนื้อหาที่กว้างซึ่งขอบเขตเหล่านี้จะครอบคลุมถึงประเด็นต่างๆ'''
'''ความสัมพันธ์ทางการเมือง'''
ความสัมพันธ์ในรูปแบบที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้อิทธิพลและการใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ทางการเมือง
'''ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ'''
ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์เพื่อการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค เนื่องจากในแต่ละประเทศมีทรัพยากรที่ไม่เท่ากันจึงต้องมีการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ
'''ความสัมพันธ์ทางสังคม'''
ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์ในการเผยแผ่และแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม การศึกษา ศาสนา การท่องเที่ยว เพื่อกระชับความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นและยังเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทางการเมืองอีกด้วย
'''ความสัมพันธ์ทางกฎหมาย'''
ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความสงบ สร้างแบบแผนให้เกิดขึ้นในสังคม และสร้างการรู้จักเคารพกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคมโดยผ่านความสัมพันธ์ทางกฎหมาย
'''ความสัมพันธ์ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี'''
ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์ในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ การสร้างสรรค์นวัตรกรรมเพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยสิ่งที่สามารถพัฒนาประเทศและตอบสนองความต้องการ<ref>จุฑาทิพ คล้ายทับทิม.(หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ).หน้า5-6</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:50, 26 เมษายน 2560

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (อังกฤษ: international relations) หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก เป็นแขนงหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ เป็นหลักปฏิบัติและการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางนโยบายระหว่างประเทศ ซึ่งครอบคลุมทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ นอกจากนี้เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นสาขาที่มีเนื้อหาและขอบเขตที่กว้าง จึงมีผู้ให้คำนิยามคำจำกัดความไว้ดังนี้

    คาร์ล ดับเบิ้ลยู ดอยซ์ (Karl W. Deutsch)ได้ให้คำนิยามของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไว้ว่า"ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเปรียบเสมือนเวทีอันประกอบด้วยพฤติกรรมและการกระทำทั้งหลายของรัฐ ที่มีต่อกันโดยปราศจากควบคุมอย่างเพียงพอ" จากคำนิยามดังกล่าว สามารถศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้คือ รัฐในแต่ละรัฐมีความแตกต่างกันทั้งทางด้าน ทรัพยากรมนุษย์ ความเจริญทางเทคโนโลยี อำนาจ และต่างๆอีกมาก โดยเฉพาะประเทศโลกที่สามที่มีการรวมกลุ่มกันเพื่อป้องกันประโยชน์ของตนจากประเทศโลกที่หนึ่ง[1]
    เค เจ โฮลสติ (K.J.Holsti)ได้ให้คำนิยามของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไว้ว่า ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละสังคมเกิดขึ้นจากการที่รัฐสนับสนุนหรือไม่สนับสนุนก็ได้[2]
 โดยสรุป ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ ความสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยน ที่เกิดขึ้นระหว่างรัฐกับรัฐโดยตรง ตัวแทนของรัฐหรือไม่ใช่ตัวแทนของรัฐและเอกชน เป็นไปได้ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ  เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆของรัฐที่ต้องการแลกเปลี่ยนและเผยแผ่ไปให้รัฐอื่นๆ เช่น การศึกษา วัฒนธรรม หรือวัตถุประสงค์ทางด้านการเมือง โดยความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเป็นไปในรูปแบบของการร่วมมือหรือรูปแบบของการขัดแย้ง เพื่อป้องกันสิทธิและรักษาผลประโยชน์ของรัฐ จึงเปรียบเสมือนกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นเหรียญสองด้าน

ขอบเขตของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีเนื้อหาที่กว้างซึ่งขอบเขตเหล่านี้จะครอบคลุมถึงประเด็นต่างๆ ความสัมพันธ์ทางการเมือง ความสัมพันธ์ในรูปแบบที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้อิทธิพลและการใช้อำนาจเพื่อประโยชน์ทางการเมือง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์เพื่อการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค เนื่องจากในแต่ละประเทศมีทรัพยากรที่ไม่เท่ากันจึงต้องมีการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ทางสังคม ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์ในการเผยแผ่และแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม การศึกษา ศาสนา การท่องเที่ยว เพื่อกระชับความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นและยังเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทางการเมืองอีกด้วย ความสัมพันธ์ทางกฎหมาย ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความสงบ สร้างแบบแผนให้เกิดขึ้นในสังคม และสร้างการรู้จักเคารพกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกันในสังคมโดยผ่านความสัมพันธ์ทางกฎหมาย ความสัมพันธ์ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ที่มีจุดประสงค์ในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ การสร้างสรรค์นวัตรกรรมเพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยสิ่งที่สามารถพัฒนาประเทศและตอบสนองความต้องการ[3]

  1. ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ.(ม.ป.ป.).(ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น).หน้า8
  2. จุฑาทิพ คล้ายทับทิม.(2553).(หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ).หน้า2
  3. จุฑาทิพ คล้ายทับทิม.(หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ).หน้า5-6