ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ดูเพิ่มที่|คณะราษฎร|การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475}}
{{ดูเพิ่มที่|คณะราษฎร|การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475}}


'''*ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร''' แสดงถึงเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี [[พ.ศ. 2469]] ไปจนถึง [[พ.ศ. 2503]]
'''ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร'''แสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503


[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|เหตุการณ์ปฏิวัติสยาม]]เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน พ.ศ. 2475 การต่อสู้ทางการเมืองก็ยังมิได้จบลงไปอย่างสิ้นเชิง ยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำใน[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์|ระบอบเก่า]] กับ[[ประชาธิปไตย|ระบอบใหม่]] หรือความขัดแย้งในผู้นำคณะราษฎรด้วยกันเอง โดยการต่อสู้ทางการเมืองและทางความคิดอุดมการณ์นี้ได้ดำเนินต่อเนื่องยาวนานเป็นเวลากว่า 25 ปีภายหลังจากการปฏิวัติ และนำไปสู่ยุคตกต่ำของคณะราษฎรในกาลต่อมา {{cn-span|จนถือว่าหมดอำนาจทั้งในทางการเมืองและในทางสัญลักษณ์อุดมการณ์ เมื่อวันชาติ 24 มิถุนายน ซึ่งระลึกถึงวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถูกยกเลิกใน พ.ศ. 2503}}
[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|เหตุการณ์ปฏิวัติ]]เมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] เป็นเหตุการณ์ทาง[[ประวัติศาสตร์การเมืองไทย|ประวัติศาสตร์ของการเมืองไทย]]ที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ไม่ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวจะถูกเรียกว่าอย่างไรก็ตาม (บ้างก็เรียก "การยึดอำนาจ" "การเปลี่ยนแปลงการปกครอง" "การปฏิวัติ" หรือ "การอภิวัฒน์") เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองของ[[ประเทศไทย]]อย่างมาก และทำให้สถาบันกษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาเป็นระยะเวลายาวนาน ต้องสูญเสียอำนาจส่วนใหญ่ไปในที่สุด


== ก่อนการปฏิวัติ (พ.ศ. 2469–2475) ==
อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน พ.ศ. 2475 การต่อสู้ทางการเมืองก็ยังมิได้จบลงไปอย่างสิ้นเชิง ยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำใน[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์|ระบอบเก่า]] กับ[[ประชาธิปไตย|ระบอบใหม่]] หรือความขัดแย้งในผู้นำระบอบใหม่ด้วยกันเอง โดยการต่อสู้ทางการเมืองและทางความคิดอุดมการณ์นี้ได้ดำเนินต่อเนื่องยาวนานเป็นเวลากว่า 25 ปีภายหลังจากการปฏิวัติ และนำไปสู่ยุคตกต่ำของคณะราษฎรในกาลต่อมา จนถือว่าหมดอำนาจทั้งในทางการเมืองและในทางสัญลักษณ์อุดมการณ์ เมื่อวันชาติ 24 มิถุนายน ซึ่งระลึกถึงวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถูกยกเลิกใน พ.ศ. 2503
=== พ.ศ. 2469 ===

* [[5 กุมภาพันธ์]] - ตั้ง[[คณะราษฎร]] และมีการประชุมครั้งแรกที่บ้านพักเลขที่ 9 [[Rue Du Sommerard|ถนนซอมเมอราร์ด]] [[ปารีส|กรุงปารีส]] ประเทศฝรั่งเศส ผู้เข้าร่วมประชุมมี 7 คน การประชุมกินเวลานาน 5 วัน และลงมติให้ปรีดี พนมยงค์เป็นประธาน และหัวหน้าคณะราษฎรไปพลาง<ref>[http://thunder.prohosting.com/~jub/2475-90.html thunder.prohosting.com สยาม 2475 - 2490 คณะราษฎร]</ref><ref name="history-politics">ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ประวัติการเมืองไทย 2475 - 2550</ref>{{อ้างอิงเต็ม}}
== ลำดับเหตุการณ์ก่อนการปฏิวัติ (พ.ศ. 2469-2475) ==
=== [[พ.ศ. 2469]] ===
* [[5 กุมภาพันธ์]] - [[คณะราษฎร]]ได้ถูกจัดตั้ง และประชุมครั้งแรก ที่บ้านพักเลขที่ 9 [[Rue Du Sommerard|ถนนซอมเมอราร์ด]] [[ปารีส|กรุงปารีส]] ประเทศฝรั่งเศส ผู้เข้าร่วมประชุมมี 7 คน คือ
# [[ประยูร ภมรมนตรี|ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี]] (นายทหารกองหนุน อดีตผู้บังคับหมวดทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์รัชกาลที่ 6)
# [[หลวงพิบูลสงคราม|ร.ท.แปลก ขีตตะสังคะ]] (นักศึกษาในโรงเรียนนายทหารปืนใหญ่ฝรั่งเศส)
# [[ทัศนัย มิตรภักดี|ร.ต.ทัศนัย มิตรภักดี]] (นักศึกษาในโรงเรียนนายทหารม้าฝรั่งเศส)
# [[ตั้ว ลพานุกรม|นายตั้ว ลพานุกรม]] (นักศึกษาวิทยาศาสตร์ในสวิตเซอร์แลนด์)
# [[หลวงสิริราชไมตรี]] (ผู้ช่วยสถานทูตสยามประจำกรุงปารีส)
# [[แนบ พหลโยธิน|นายแนบ พหลโยธิน]] (เนติบัณฑิตอังกฤษ)
# [[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]] (ดุษฎีบัณฑิตกฎหมายฝ่ายนิติศาสตร์ ฝรั่งเศส)
การประชุมกินเวลานานถึง 5 วัน และลงมติให้นายปรีดีเป็นประธาน และหัวหน้าคณะราษฎร จนกว่าจะมีบุคคลที่เหมาะสมมาเป็นในกาลต่อไป<ref>[http://thunder.prohosting.com/~jub/2475-90.html thunder.prohosting.com สยาม 2475 - 2490 คณะราษฎร]</ref><ref name="history-politics">ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ประวัติการเมืองไทย 2475 - 2550</ref>


===[[พ.ศ. 2474]]===
===[[พ.ศ. 2474]]===
*[[19 มิถุนายน]] - [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ได้ลาออกจากตำแหน่ง หลังจากมีความขัดแย้งกับ[[กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] อภิรัฐมนตรี ซึ่งเหตุการณ์นี้ได้เปิดโอกาสอย่างมากให้แก่คณะราษฎร<ref>[http://heritage.mod.go.th/nation/nation.htm เหตุการณ์ในแผ่นดินเมื่อปี พ.ศ. 2475]</ref>
*[[19 มิถุนายน]] - [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ได้ลาออกจากตำแหน่ง หลังจากมีความขัดแย้งกับ[[กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] อภิรัฐมนตรี ซึ่งเหตุการณ์นี้ได้เปิดโอกาสอย่างมากให้แก่คณะราษฎร<ref>[http://heritage.mod.go.th/nation/nation.htm เหตุการณ์ในแผ่นดินเมื่อปี พ.ศ. 2475]</ref>{{อย่างไร}}


=== [[พ.ศ. 2475]] ===
=== [[พ.ศ. 2475]] ===
* [[12 มิถุนายน]] - [[คณะราษฎร]]ได้วางแผนการที่บ้าน ร.ท.[[ประยูร ภมรมนตรี]] เพื่อจะดำเนินการควบคุม[[กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร
* [[12 มิถุนายน]] - คณะราษฎรวางแผนการที่บ้าน ร.ท.[[ประยูร ภมรมนตรี]] เพื่อจะดำเนินการควบคุม[[กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร
* [[24 มิถุนายน]] - คณะราษฎรประกาศ เปลี่ยนแปลง[[การปกครอง]]ของ[[ประเทศไทย]] จาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ไปเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] ในการปฏิบัติการ มีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าคณะราษฎร
* [[24 มิถุนายน]] - คณะราษฎรประกาศ เปลี่ยนแปลง[[การปกครอง]]ของ[[ประเทศไทย]] จาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ไปเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] ในการปฏิบัติการ มีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าคณะราษฎร



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:27, 20 เมษายน 2560

ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎรแสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 2503

เหตุการณ์ปฏิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน พ.ศ. 2475 การต่อสู้ทางการเมืองก็ยังมิได้จบลงไปอย่างสิ้นเชิง ยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำในระบอบเก่า กับระบอบใหม่ หรือความขัดแย้งในผู้นำคณะราษฎรด้วยกันเอง โดยการต่อสู้ทางการเมืองและทางความคิดอุดมการณ์นี้ได้ดำเนินต่อเนื่องยาวนานเป็นเวลากว่า 25 ปีภายหลังจากการปฏิวัติ และนำไปสู่ยุคตกต่ำของคณะราษฎรในกาลต่อมา จนถือว่าหมดอำนาจทั้งในทางการเมืองและในทางสัญลักษณ์อุดมการณ์ เมื่อวันชาติ 24 มิถุนายน ซึ่งระลึกถึงวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถูกยกเลิกใน พ.ศ. 2503[ต้องการอ้างอิง]

ก่อนการปฏิวัติ (พ.ศ. 2469–2475)

พ.ศ. 2469

พ.ศ. 2474

พ.ศ. 2475

ลำดับเหตุการณ์หลังการปฏิวัติ (พ.ศ. 2475-2503)

พ.ศ. 2475

พ.ศ. 2476

  • 1 เมษายน - มีพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญเกือบทุกมาตรา[11] (บางข้อมูลอธิบายว่าพฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการยึดอำนาจตัวเอง เพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่[2])
  • 2 เมษายน - พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ถูกประกาศใช้ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี[12] เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง[2] (ในที่นี้ อาจหมายถึง คณะราษฎร เพราะนายกรัฐมนตรีในขณะนั้นอยู่ตรงข้ามกับคณะราษฎร)
  • 12 เมษายน - นายปรีดีถูกบังคับให้เดินทางออกนอกประเทศไปยังฝรั่งเศส เนื่องจากความเห็นของนายปรีดีถูกโจมตีว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ภายหลังการเสนอเค้าโครงร่างทางเศรษฐกิจ ที่เจ้าและขุนนางต้องเสียผลประโยชน์[13]
  • 10 มิถุนายน - พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยาทรงสุรเดช พระประศาสน์พิทยายุทธ และพระยาฤทธิอัคเนย์ ผู้นำสายทหารของคณะราษฎรยื่นจดหมายลาออก[11]
  • 20 มิถุนายน - พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาทำการยึดอำนาจพระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรี หลังจากการรัฐประหารได้มีการล้างมลทินให้หลวงประดิษฐมนูธรรม
  • 29 กันยายน - นายปรีดี พนมยงค์เดินทางกลับสยาม และดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 11 ตุลาคม - กบฏบวรเดช: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นหัวหน้าฝ่ายทหารนำกำลังทหารจากหัวเมืองภาคอีสานล้มล้างการปกครองของรัฐบาล เนื่องจากไม่พอใจที่นายถวัลย์ ฤทธิเดชฟ้องร้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกรณีที่ที่พระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยคัดค้านแผนพัฒนาเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ("สมุดปกเหลือง") โดยออกเป็นสมุดปกขาว แต่กระทำการไม่สำเร็จ
  • 23 ตุลาคม - นายพันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) ถูกยิงเสียชีวิตโดยทหารจากกองพันทหารราบที่ 6 นำโดยพันตรีหลวงวีรวัฒน์โยธา
  • 25 ตุลาคม - พระองค์เจ้าบวรเดช หัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังประเทศอินโดจีนฝรั่งเศส
  • 7 พฤศจิกายน - ออกพระราชบัญญัติป้องกันรักษารัฐธรรมนูญ อันเป็นเครื่องมือที่จะตอบโต้ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล[2] (ในที่นี้ อาจหมายถึง ฝ่ายตรงข้ามกับคณะราษฎร)
  • 16 ธันวาคม - พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาแบบ 2 ชั้น (1 ตุลาคม - 15 พฤษภาคม) [12]
  • 25 ธันวาคม - หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณทรงเป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาเรื่องที่นายปรีดี เป็นคอมมิวนิสต์ ได้ลงมติว่าตัวนายปรีดี มิได้เป็นคอมมิวนิสต์[2]

พ.ศ. 2477

พ.ศ. 2479

พ.ศ. 2480

  • 27 กรกฎาคม - พระยาพหลพลพยุหเสนาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากกรณีอื้อฉาวที่มีกระทู้ถามเรื่องการนำที่ดินของพระคลังข้างที่มาซื้อขายในราคาถูกเป็นพิเศษ เพื่อเป็นแสดงความบริสุทธิ์และแสดงให้เห็นถึงความไม่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายที่ดินดังกล่าว[2]
  • 5 สิงหาคม - จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี รับสนองพระบรมราชโองการ แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญว่าด้วยนามประเทศ โดยให้เรียกชื่อประเทศว่า "ประเทศไทย" และเปลี่ยนคำว่า "สยาม" ให้เป็น "ไทย" แทน โดยเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงหลักการของ "ลัทธิชาติ-ชาตินิยม" ว่า "รัฐบาลเห็นควรถือเป็นรัฐนิยมให้ใช้ชื่อประเทศ ให้ต้องตามชื่อเชื้อชาติ และความนิยมของประชาชน"[15]
  • 7 พฤศจิกายน - การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในประวัติศาสตร์ไทย

พ.ศ. 2481

  • 18 กรกฎาคม - รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนาออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2481 เรื่อง "วันชาติ" กำหนดให้วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันชาติ ซึ่งตรงกับวันที่ก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง[16][17]
  • 1 สิงหาคม - ประกาศใช้วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันชาติ ลงในราชกิจจานุเบกษา[18]
  • 11 กันยายน - พระยาพหลพลพยุหเสนา ยุบสภา เนื่องจากรัฐบาลแพ้คะแนนเสียงเรื่องการชี้แจงรายรับ-รายจ่ายที่รัฐบาลจัดทำเสนอ[2]
  • 16 ธันวาคม - จอมพล ป. พิบูลสงคราม เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

พ.ศ. 2484

พ.ศ. 2486

  • 8 มิถุนายน - นายปรีดีได้ลาออกจากตำแหน่ง เพื่อให้เป็นไปตามวิธีทางของรัฐธรรมนูญ หลังจากรัชกาลที่ 8 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่รัฐสภาก็มีมติเป็นเอกฉันท์ให้กลับมาดำรงตำแหน่งอีกครั้ง

พ.ศ. 2487

  • 24 กรกฎาคม - จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกกดดันให้ลงออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากนโยบาย ร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารนครบาลเพชรบูรณ์ ที่ จอมพล ป. นำเสนอ[2]
  • 1 สิงหาคม - พลโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงได้ลงมติแต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่เพียงผู้เดียว
  • 24 สิงหาคม - จอมพล ป. พิบูลสงครามถูกปลดจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด[2]

พ.ศ. 2488

  • 16 สิงหาคม - นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ" ไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ได้
  • 20 สิงหาคม - รัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากเป็นรัฐบาลที่มีขึ้นในสมัยสงคราม[2]
  • 1 กันยายน - นายทวี บุณยเกตุ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลรักษาการ โดยมีอายุเพียง 17 วัน โดยรัฐมนตรีในรัฐบาลส่วนใหญ่เป็นฝ่ายเสรีไทย[2]
  • 17 กันยายน - ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมชเดินทางกลับจากสหรัฐอเมริกา เพื่อมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และได้ดำเนินการเจราเอาทหารอังกฤษและข้อตกลงสัญญาบางประการกับประเทศอังกฤษ ภายหลังสงครามยุติ เนื่องจากอังกฤษไม่ยอมรับสถานภาพของประเทศไทยซึ่งเป็นพันธมิตรของญี่ปุ่น
  • 27 กันยายน - รัฐบาลเสนอพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม ต่อสภาผู้แทนราษฎร เพื่อใช้จัดการกับ จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะ[2]
  • 15 ตุลาคม - ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ยุบสภา เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่
  • 5 ธันวาคม - นายปรีดี พนมยงค์ อัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป

พ.ศ. 2489

  • 1 มกราคม - ม.ร.ว.เสนีย์ ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังจากเสร็จภารกิจเจรจากับประเทศอังกฤษ
  • 6 มกราคม - มีการเลือกตั้งทั่วไป
  • 31 มกราคม - นายควง อภัยวงศ์ ได้รับเสียงสนับสนุนจากสภาผู้แทนราษฎร ให้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งที่ 2 และจัดตั้งรัฐบาลต่อจาก ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
  • 18 มีนาคม - นายควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพราะแพ้การลงมติในสภาผู้แทนราษฎร เรื่องร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองค่าใช้จ่ายฯ[2]
  • 24 มีนาคม - นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเสียงสนับสนุนให้เป็นนายกรัฐมนตรี[2]
  • 5 เมษายน - ม.ร.ว เสนีย์ ร่วมกับนายควง อภัยวงศ์ ดำเนินการจัดตั้งพรรคประชาธิปัตย์ โดยนายควง เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ม.ร.ว.เสนีย์ เป็นรองหัวหน้าพรรค ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ที่ยุบพรรคก้าวหน้ามารวมเป็นเลขาธิการพรรค และนายชวลิต อภัยวงศ์ เป็นรองเลขาธิการพรรค
  • 9 พฤษภาคม - รัฐสภามีรัฐพิธีลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 3 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลพระราชทานให้นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ[12]
  • 9 มิถุนายน - เหตุการณ์เสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล: นายปรีดีและคณะรัฐมนตรีได้ขอความเห็นชอบต่อสภาว่า ผู้ที่จะขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ควรได้แก่ สมเด็จพระอนุชา เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว นายปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยเหตุผลว่าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงแต่งตั้งตนเป็นนายกรัฐมนตรีนั้นได้สวรรคตเสียแล้ว
  • 9 มิถุนายน - ศัตรูทางการเมืองของนายปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารที่สูญเสียอำนาจและพรรคการเมืองฝ่ายค้าน รวมถึงพรรคประชาธิปัตย์ สบโอกาสในการทำลายนายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" ซึ่งเป็นคำกล่าวอ้างที่ร้ายแรงมาก จนกลายเป็นกระแสข่าวลือ และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งทางการเมืองทั้งหมดในเดือนพฤศจิกายน
  • 5 สิงหาคม - การเลือกตั้งเพิ่มเติม
  • 23 สิงหาคม - พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี[2]

พ.ศ. 2490

  • 19-26 พฤษภาคม - พรรคประชาธิปัตย์อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นานถึง 7 วัน 7 คืนติดต่อกัน จนถูกเรียกว่า "มหกรรม 7 วัน" การลงมติปรากฏว่า พล.ร.ต.ถวัลย์ ได้มติไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่ออย่างท่วมท้น แต่เนื่องจากกระแสกดดันอย่างมากทั้งในและนอกสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องลาออกในวันรุ่งขึ้น แต่ก็กลับเข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันถัดมา
  • 8 พฤศจิกายน - พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ และ น.อ.กาจ กาจสงคราม นำกำลังทหารยึดอำนาจจากปกครองจากรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (รับช่วงต่อจากนายปรีดี) โดยอ้างว่าไม่สามารถสะสางกรณีสวรรคตได้ และได้ทำการฉีกรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489 ทิ้ง[19] จากเหตุการณ์รัฐประหารนี้ ทำให้นายปรีดี และพล.ร.ต.ถวัลย์ ต้องหลบหนีออกนอกประเทศไปยังสหรัฐอเมริกา ในขณะนั้นรัฐบาลสหรัฐอเมริกาให้ความสนับสนุนฝ่ายรัฐประหาร นายปรีดีจึงเดินทางไปจีนแทน[13] อนึ่ง กรณีสวรรคตยังส่งผลให้กลุ่มการเมืองฝ่ายนายปรีดีต้องพลอยหมดบทบาทจากเวทีการเมืองไทยภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ด้วย
  • 9 พฤศจิกายน - ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ (หรือที่รู้จักกันว่า "รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม") ในการรัฐประหารวันที่ 8 พฤศจิกายนนี้ เป็นการเปิดศักราชใหม่ของการยึดอำนาจแล้วทำลายรัฐธรรมนูญเดิมเสีย[20]
  • 10 พฤศจิกายน - นายควง อภัยวงศ์ ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกเป็นวาระที่ 3

พ.ศ. 2491

  • 6 มกราคม - การเลือกตั้งทั่วไป
  • 29 มกราคม - พรรคประชาธิปัตย์ชนะเลือกตั้งเป็นรัฐบาล และนายควง อภัยวงศ์ จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อ หลังจากกำลังทหารทำการยึดอำนาจและได้มีกำหนดให้เลือกตั้ง
  • 6 เมษายน - คณะทหารในกลุ่ม 4 คน นำโดย น.อ.กาจ กาจสงคราม ได้บีบบังคับให้นายควงลาออกและ แต่งตั้ง จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีแทน ในการรัฐประหารครั้งนี้ได้พลิกโฉมหน้าการเมืองไทยไปโดยสิ้นเชิง เพราะอำนาจที่แท้จริงยังอยู่ที่คณะทหาร และที่สำคัญการรัฐประหารนี้เป็นการขจัดกลุ่มอำนาจเก่าของ นายปรีดี พนมยงค์ ให้สิ้นไปจากเวทีการเมือง ส่งผลให้นายปรีดี ต้องขอลี้ภัยการเมืองที่ต่างประเทศตราบจนเสียชีวิต

พ.ศ. 2492

พ.ศ. 2494

พ.ศ. 2495

พ.ศ. 2498

พ.ศ. 2500

  • 26 กุมภาพันธ์ - รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม จัดการเลือกตั้งทั่วไป แต่ว่าเป็นการเลือกตั้งที่ร่ำลือว่าสกปรกที่สุด เต็มไปด้วยการโกงจากฝ่ายรัฐบาล ต้องนับคะแนนยาวนานถึง 7 วัน 7 คืน
  • 16 กันยายน - คณะทหารที่นำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำการยึดอำนาจจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยข้อกล่าวหาสำคัญคือ ฝ่ายรัฐบาลจัดการเลือกตั้งสกปรกจึงหมดความชอบธรรม[12]
  • 21 กันยายน - คณะทหารที่ทำการยึดอำนาจ ได้แต่งตั้ง นายพจน์ สารสิน อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา และเลขาธิการซีโต้ มาเป็นนายกรัฐมนตรีชั่วคราวราวสามเดือน เพื่อจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งใหม่ให้บริสุทธิ์ยุติธรรม[12]

พ.ศ. 2501

พ.ศ. 2502

  • 9 กุมภาพันธ์ - จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

พ.ศ. 2503

  • 21 พฤษภาคม - จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ลงนามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง "ให้ถือวันพระราชสมภพเป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย" ยกเลิกวันชาติ 24 มิถุนายน แล้วกำหนดให้ถือเอาวันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทยแทน[16][22][17] และให้เปลี่ยนวันที่ 24 มิถุนายนไปเป็น "วันปลูกต้นไม้แห่งชาติ"[23]
  • 8 มิถุนายน - รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ประกาศให้ยกเลิกการหยุดราชการในวันที่ 24 มิถุนายน เพราะไม่ได้เป็นวันชาติอีกต่อไปแล้ว[17]

หมายเหตุ

  • ในลำดับเหตุการณ์ข้างต้น ระหว่างปี พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2503 ซึ่งปีพุทธศักราชมีการเปลี่ยนแปลงวันเริ่มศักราช จากเดิมเริ่มต้นปีในวันที่ 1 เมษายน แต่หลังจากปี พ.ศ. 2483 ประเทศไทยได้ปรับวันขึ้นปีเป็นวันที่ 1 มกราคม ซึ่งอาจทำให้ข้อมูลในปีก่อน พ.ศ. 2483 เกิดความสับสนในการเรียงลำดับ

อ้างอิง

  1. thunder.prohosting.com สยาม 2475 - 2490 คณะราษฎร
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 2.15 2.16 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ประวัติการเมืองไทย 2475 - 2550
  3. เหตุการณ์ในแผ่นดินเมื่อปี พ.ศ. 2475
  4. คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์ หน้า 111 หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543
  5. www.sarakadee.com ยุทธการยึดเมือง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕
  6. คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์ หน้า 112 หนังสือครบรอบ 100 ปี ชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส 11 พ.ค. 2543
  7. รากฐานไทย, ความเป็นมาพรรคการเมืองไทย, เว็บไซต์รากฐานไทย
  8. สารคดี, วันนี้ในอดีต: 25 สิงหาคม, นิตยสารสารคดี, 25 สิงหาคม พ.ศ. 2550
  9. www.pridi-fo.th.com ปฏิทินชีวิต นายปรีดี พนมยงค์
  10. อนุสรณ์ ธรรมใจ, ปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ พุทธศักราช 2547, 24 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ณ ห้องประชุมใหญ่ สถาบันปรีดี พนมยงค์ กรุงเทพมหานคร
  11. 11.0 11.1 บทความ เมรุคราวกบฏบวร: เมรุสามัญชนครั้งแรกกลางท้องสนามหลวง ชาตรี ประกิตนนทการ - นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2550
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 12.5 12.6 การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ, เสน่ห์ จามริก
  13. 13.0 13.1 13.2 geocities.com/siamintellect ชีวประวัติ ปรีดี พนมยงค์
  14. ประชาไท, ชาตรี ประกิตนนทการ : สถาปัตย์คณะราษฎร บนพื้นที่ศักดิ์สิทธิแห่งสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (ย่อหน้า 8), ประชาไท, 19 กันยายน พ.ศ. 2550
  15. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับที่ 1401, 1402 วันที่ 22 และ 29 มิ.ย. 2550 (ผ่านหนังสือ จากสยามเป็นไทย: นามนั้นสำคัญมากฉะนี้หรือ? เอกสารวิชาการ โครงการตลาดวิชา มหาวิทยาลัยชาวบ้าน หน้า 8 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ)
  16. 16.0 16.1 เกษียร เตชะพีระ, 20 พฤษภาฯ วันสิ้น (วัน) ชาติ, มติชน ปีที่ 26 ฉบับที่ 9310, 5 กันยายน พ.ศ. 2546 (อ้างผ่านเว็บไซต์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า)
  17. 17.0 17.1 17.2 พิพิธภัณฑ์เครื่องเล่นกระบอกเสียงและหีบเสียงไทย, เพลงวันชาติ 24 มิถุนายน, เว็บไซต์พิพิธภัณฑ์เครื่องเล่นกระบอกเสียงและหีบเสียงไทย
  18. ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 55 วันที่ 1 สิงหาคม 2481 หน้า 1122 (ผ่านหนังสือฟ้าเดียวกัน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เม.ย.-มิ.ย. 2547 หน้า 72 บทความ ประวัติศาสตร์วันชาติไทย จาก 24 มิถุนา ถึง 5 ธันวา โดย สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล)
  19. 19.0 19.1 ทหารกับการเมืองในอุษาคเนย์: ศึกษาเปรียบเทียบในกรณีของ ไทย พม่า อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ)
  20. 20.0 20.1 บทบาทเส้นทางประวัติศาสตร์ของรัฐธรรมนูญในระบบประชาธิปไตยไทย, ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
  21. 50 ปีการประหารชีวิต 17 กุมภาพันธ์ 2498, สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 เม.ย.-มิ.ย. 2548
  22. ประชาไท, บรรยากาศงานรำลึกวันชาติ 24 มิ.ย. ลานปักหมุดประชาธิปไตยเหงา, ประชาไท, 25 มิถุนายน พ.ศ. 2550
  23. สารคดี, วันนี้ในอดีต: 14 กรกฎาคม, สารคดี, 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ดูเพิ่ม

บุคคลที่เกี่ยวข้อง