ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลายกระหนก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายป้ายโครงการวิกิประเทศไทยไปหน้าพูดคุย
Jadenarong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ลายกระหนก''' หรือ '''ลายกนก''' เป็นลายพื้นฐานที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งใน[[จิตรกรรมไทย]] มีพื้นฐานจาก[[สามเหลี่ยมชายธง]] ([[สามเหลี่ยมมุมฉาก]]) อาจมีตัวเดียว หรือหลายตัวก็ได้ มักมีฐานมุมแหลมหันไปทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ลายกระหนกที่สำคัญ ได้แก่ กระหนกสามตัว กระหนกเปลว กระหนกใบเทศ จากนั้นก็เป็นกระหนกผักกูด กระหนกกอ เป็นต้น
'''ลายกระหนก''' หรือ '''ลายกนก''' เป็นลายพื้นฐานหนึ่งที่สำคัญของลายไทยในงาน[[จิตรกรรมไทย]] มีพื้นฐานจาก[[สามเหลี่ยมชายธง]] ([[สามเหลี่ยมมุมฉาก]]) อาจมีตัวเดียว หรือหลายตัวก็ได้ มักมีฐานมุมแหลมหันไปทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ลายกระหนกที่สำคัญ ได้แก่ กระหนกสามตัว กระหนกเปลว กระหนกใบเทศ จากนั้นก็เป็นกระหนกผักกูด กระหนกกอ เป็นต้น

== ความหมาย==
ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2525 ให้ความหมายว่า

'''กระหนก''' หมายถึงลวดลาย แต่จะสะกดว่า กนก ก็ได้ด้วย

'''กนก''' หมายถึงทอง

[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ]] ทรงอธิบายใน สาส์นสมเด็จ ว่า กนกคงใช้เรียกตู้ลายทอง (ตู้ลายรดน้ำ) แล้วเข้าใจผิดไปว่า ลวดลายนั้นเป็น กนก

== บ่อเกิดแห่งลายไทย==
ลายไทยมีบ่อเกิดมาจากธรรมชาติ ได้แก่
* ดอกบัว
* ใบฝ้ายเทศ
* ดอกมะลิ
* ดอกชัยพฤกษ์
* ตาอ้อย
* เถาวัลย์
* กาบไผ่
* เปลวไฟ
* ฯลฯ

== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
* โพธิ์ ใจอ่อนน้อม '''คู่มือลายไทย ''' โรงพิมพ์ธนาคารออมสิน พ.ศ. 2522.
* พระเทวาภินิมมิต '''สมุดตำราลายไทย''' โรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. 2530. ISBN 974-0038-44-1
* สันติ เล็กสุขุม '''กระหนกในดินแดนไทย ''' สำนักพิมพ์มติชน พ.ศ. 2539. ISBN 974-7120-30-5

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/rarebook/r35/na3578_7ก1พ43.pdf พุทธศิลปะสถาปัตยกรรม ภาคต้น โดย พระพรหมพิจิตร]
* [http://www.jitdrathanee.com/thai/index.htm จิตรธานี]


{{โครงศิลปะ}}
{{โครงศิลปะ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:43, 23 สิงหาคม 2550

ลายกระหนก หรือ ลายกนก เป็นลายพื้นฐานหนึ่งที่สำคัญของลายไทยในงานจิตรกรรมไทย มีพื้นฐานจากสามเหลี่ยมชายธง (สามเหลี่ยมมุมฉาก) อาจมีตัวเดียว หรือหลายตัวก็ได้ มักมีฐานมุมแหลมหันไปทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ลายกระหนกที่สำคัญ ได้แก่ กระหนกสามตัว กระหนกเปลว กระหนกใบเทศ จากนั้นก็เป็นกระหนกผักกูด กระหนกกอ เป็นต้น

ความหมาย

ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2525 ให้ความหมายว่า

กระหนก หมายถึงลวดลาย แต่จะสะกดว่า กนก ก็ได้ด้วย

กนก หมายถึงทอง

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ทรงอธิบายใน สาส์นสมเด็จ ว่า กนกคงใช้เรียกตู้ลายทอง (ตู้ลายรดน้ำ) แล้วเข้าใจผิดไปว่า ลวดลายนั้นเป็น กนก

บ่อเกิดแห่งลายไทย

ลายไทยมีบ่อเกิดมาจากธรรมชาติ ได้แก่

  • ดอกบัว
  • ใบฝ้ายเทศ
  • ดอกมะลิ
  • ดอกชัยพฤกษ์
  • ตาอ้อย
  • เถาวัลย์
  • กาบไผ่
  • เปลวไฟ
  • ฯลฯ

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • โพธิ์ ใจอ่อนน้อม คู่มือลายไทย โรงพิมพ์ธนาคารออมสิน พ.ศ. 2522.
  • พระเทวาภินิมมิต สมุดตำราลายไทย โรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. 2530. ISBN 974-0038-44-1
  • สันติ เล็กสุขุม กระหนกในดินแดนไทย สำนักพิมพ์มติชน พ.ศ. 2539. ISBN 974-7120-30-5

แหล่งข้อมูลอื่น