ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเยสุอิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขชื่อและตัวสะกดให้ตตรงตามที่คาทอลิกไทยใช้
ไม่จำเป็น
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
|num_staff = 17,287 คน
|num_staff = 17,287 คน
}}
}}
'''คณะเยสุอิต'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 274</ref><ref name="คณะเยสุอิตประเทศไทย">[http://www.sjthailand.org/ คณะเยสุอิตประเทศไทย]. คณะเยสุอิตประเทศไทย. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> (Jesuits) มีชื่อเต็มว่า '''คณะแห่งพระเยซูเจ้า'''<ref name="คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)">[http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]. หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> ({{lang-en|Society of Jesus}}; {{lang-la|Societas Iesu ใช้ชื่อย่อว่า “S.J.” หรือ “S.I.”}}) เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]]ที่นักบุญ[[อิกเนเชียสแห่งโลโยลา]] (St.Ignatius of Loyola) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1540 นักบวชในคณะนี้มีสมญาว่า “ทหารของพระคริสต์” (Soldiers of Christ) หรือ “ทหารราบของพระสันตะปาปา” (Foot soldiers of the Pope) เพราะนักบุญอิกเนเชียสผู้ก่อตั้งเคยเป็น[[อัศวิน]]มาก่อนที่จะบวช

'''คณะเยสุอิต'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 274</ref><ref name="คณะเยสุอิตประเทศไทย">[http://www.sjthailand.org/ คณะเยสุอิตประเทศไทย]. คณะเยสุอิตประเทศไทย. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> (Jesuits) มีชื่อเต็มว่า '''คณะแห่งพระเยซูเจ้า'''<ref name="คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)">[http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]. หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> ({{lang-en|Society of Jesus}}; {{lang-la|Societas Iesu ใช้ชื่อย่อว่า “S.J.” หรือ “S.I.”}}) เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]]ที่นักบุญ[[อิกเนเชียสแห่งโลโยลา|อิกญาซีโอแห่งโลโยลา]] (St.Ignatius of Loyola) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1540 นักบวชในคณะนี้มีสมญาว่า “ทหารของพระคริสต์” (Soldiers of Christ) หรือ “ทหารราบของพระสันตะปาปา” (Foot soldiers of the Pope) เพราะนักบุญอิกเนเชียสผู้ก่อตั้งเคยเป็น[[อัศวิน]]มาก่อนที่จะบวช


ในปัจจุบันนักบวชเยสุอิตทำงานสอนศาสนาใน 112 ประเทศและมีชื่อเสียงในทางการศึกษา การค้นคว้า และการส่งเสริม[[วัฒนธรรม]] นอกจากนั้นยังมีส่วนร่วมในการต่อสู้เพื่อ[[สิทธิมนุษยชน]]ด้วย
ในปัจจุบันนักบวชเยสุอิตทำงานสอนศาสนาใน 112 ประเทศและมีชื่อเสียงในทางการศึกษา การค้นคว้า และการส่งเสริม[[วัฒนธรรม]] นอกจากนั้นยังมีส่วนร่วมในการต่อสู้เพื่อ[[สิทธิมนุษยชน]]ด้วย


== การก่อตั้ง ==
== การก่อตั้ง ==
เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1534 [[อิกเนเชียสแห่งโลโยลา|อิกญาซีโอแห่งโลโยลา]] นักบวชชาวสเปนและนักเรียนอีก 6 คนจาก[[มหาวิทยาลัยปารีส]] ซึ่งเป็นชาว[[แคว้นบาสก์]] [[ประเทศสเปน]] ประกอบด้วย [[ฟรันซิสโก คาเบียร์|ฟรังซิส เซเวียร์]] (Francisco Xavier) อัลฟอนโซ ซาลเมรอน (Alfonso Salmeron) ดีเอโก ลาอีเนซ (Diego Laínez) นิโคลัส โบบาดิลลา (Nicolás Bobadilla)) ปีแอร์ ฟาแวร์ (Peter Faber) จาก[[ซาวอย]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] และซิเมา โรดริเกซ (Simão Rodrigues) จาก[[ประเทศโปรตุเกส]] พบกันที่[[มงมาทร์]] ภายใน[[ห้องเก็บศพใต้โบสถ์]]นักบุญเดนิส นอกเมือง[[ปารีส]] ผู้ร่วมในกลุ่มนี้ตั้งคำปฏิญาณถือความความยากจนและพรหมจรรย์ เพื่อ “เข้าทำงานกับโรงพยายาลและการเผยแพร่ศาสนาที่กรุง[[เยรูซาเลม]] หรือเพื่อไปยังที่ใด ๆ ที่[[พระสันตะปาปา]]มึความประสงค์จะส่งไปโดยไม่ทักท้วง”
เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1534 [[อิกเนเชียสแห่งโลโยลา]] นักบวชชาวสเปนและนักเรียนอีก 6 คนจาก[[มหาวิทยาลัยปารีส]] ซึ่งเป็นชาว[[แคว้นบาสก์]] [[ประเทศสเปน]] ประกอบด้วย [[ฟรันซิสโก คาเบียร์]] (Francisco Xavier) อัลฟอนโซ ซาลเมรอน (Alfonso Salmeron) ดีเอโก ลาอีเนซ (Diego Laínez) นิโคลัส โบบาดิลลา (Nicolás Bobadilla)) [[ปีแยร์ ฟาฟวร์]] (Pierre Favre) จาก[[ซาวอย]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] และซิเมา โรดริเกซ (Simão Rodrigues) จาก[[ประเทศโปรตุเกส]] พบกันที่[[มงมาทร์]] ภายใน[[ห้องเก็บศพใต้โบสถ์]]นักบุญเดนิส นอกเมือง[[ปารีส]] ผู้ร่วมในกลุ่มนี้ตั้งคำปฏิญาณถือความความยากจนและพรหมจรรย์ เพื่อ “เข้าทำงานกับโรงพยายาลและการเผยแพร่ศาสนาที่กรุง[[เยรูซาเลม]] หรือเพื่อไปยังที่ใด ๆ ที่[[พระสันตะปาปา]]มึความประสงค์จะส่งไปโดยไม่ทักท้วง”


กลุ่มนี้เรียกตนเองว่า “กองกำลังพระเยซู” (Company of Jesus) เพราะผู้เป็นสมาชิกมีความรู้สึกว่าที่มาพบปะกันได้ก็เป็นเพราะอำนาจของ[[พระเยซู]] คำว่า “กองกำลัง” เป็นนัยมาจากศัพท์ที่ใช้ในการเรียกกองทหาร และยังแสดงถึงความเป็นสาวกหรือผู้ติดตามพระเยซู คำว่า “Company” มาจากภาษาละติน “cum” และ “pane” ซึ่งแปลว่า “bread with” หรือผู้ที่กินอาหารด้วยกัน
กลุ่มนี้เรียกตนเองว่า “กองกำลังพระเยซู” (Company of Jesus) เพราะผู้เป็นสมาชิกมีความรู้สึกว่าที่มาพบปะกันได้ก็เป็นเพราะอำนาจของ[[พระเยซู]] คำว่า “กองกำลัง” เป็นนัยมาจากศัพท์ที่ใช้ในการเรียกกองทหาร และยังแสดงถึงความเป็นสาวกหรือผู้ติดตามพระเยซู คำว่า “Company” มาจากภาษาละติน “cum” และ “pane” ซึ่งแปลว่า “bread with” หรือผู้ที่กินอาหารด้วยกัน
บรรทัด 28: บรรทัด 27:
การพบกันครั้งนี้นำไปสู่การก่อตั้งกลุ่มที่ต่อมาในปี ค.ศ. 1540 เรียกตนเองว่า “Society of Jesus” คำว่า “societas” ในภาษาละตินมาจากคำว่า “socius” หรือ “ผู้ร่วม” หรือ “สหาย” ในปี ค.ศ. 1537 กลุ่มนี้ก็เดินทางไปประเทศอิตาลีเพื่อยึ่นคำขออนุมัติการตั้งคณะใหม่ต่อพระสันตะปาปา [[สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3]] ทรงอนุมัติและอนุญาตให้สมาชิกในกลุ่มนั้นรับ[[ศีลอนุกรม]]
การพบกันครั้งนี้นำไปสู่การก่อตั้งกลุ่มที่ต่อมาในปี ค.ศ. 1540 เรียกตนเองว่า “Society of Jesus” คำว่า “societas” ในภาษาละตินมาจากคำว่า “socius” หรือ “ผู้ร่วม” หรือ “สหาย” ในปี ค.ศ. 1537 กลุ่มนี้ก็เดินทางไปประเทศอิตาลีเพื่อยึ่นคำขออนุมัติการตั้งคณะใหม่ต่อพระสันตะปาปา [[สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3]] ทรงอนุมัติและอนุญาตให้สมาชิกในกลุ่มนั้นรับ[[ศีลอนุกรม]]


สมาชิกในกลุ่มนั้นจึงทำการรับศีลเป็นนักบวชที่[[เวนิส]]โดย[[บิชอป|พระสังฒราช]]แห่งอาร์บเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน หลังจากนั้นนักบวชกลุ่มก็อุทิศตัวให้กับการเทศนาและการช่วยงานการกุศลในประเทศอิตาลึ เพราะไม่สามารถเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมได้ตามที่ตั้งใจ เพราะขณะนั้นระหว่างปี ค.ศ. 1535 ถึงปี ค.ศ. 1538 เป็นระยะเวลาสงครามระหว่าง[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] เวนิส และ[[รัฐสันตะปาปา]] กับ[[จักรวรรดิออตโตมัน]] ทำให้การเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมเป็นไปไม่ได้
สมาชิกในกลุ่มนั้นจึงทำการรับศีลเป็นนักบวชที่[[เวนิส]]โดย[[บิชอป]]แห่งอาร์บเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน หลังจากนั้นนักบวชกลุ่มก็อุทิศตัวให้กับการเทศนาและการช่วยงานการกุศลในประเทศอิตาลึ เพราะไม่สามารถเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมได้ตามที่ตั้งใจ เพราะขณะนั้นระหว่างปี ค.ศ. 1535 ถึงปี ค.ศ. 1538 เป็นระยะเวลาสงครามระหว่าง[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] เวนิส และ[[รัฐสันตะปาปา]] กับ[[จักรวรรดิออตโตมัน]] ทำให้การเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมเป็นไปไม่ได้

== คณะเยสุอิตในประเทศไทย ==


== สมาชิกที่มีชื่อเสียง ==
== สมาชิกที่มีชื่อเสียง ==
;
;นักบุญ
;นักบุญ
# นักบุญ[[อิกเนเชียสแห่งโลโยลา|อิกญาซีโอแห่งโลโยลา]]
# นักบุญ[[อิกเนเชียสแห่งโลโยลา]]
# นักบุญ[[ฟรังซิสโก คาเบียร์|ฟรังซิส เซเวียร์]]
# นักบุญ[[ฟรังซิสโก คาเบียร์]]
# นักบุญ[[โรแบร์โต เบลลาร์มีโน]]
# นักบุญ[[โรแบร์โต เบลลาร์มีโน]]
# นักบุญ[[เปาโล มิกิ]]
# นักบุญ[[เปาโล มิกิ]]
บรรทัด 42: บรรทัด 38:


;พระสันตะปาปา
;พระสันตะปาปา
# [[สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส|สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส]]
# [[สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส]]


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 49: บรรทัด 45:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.jesuits-thailand.org/th/ เว็บไชต์ทางการของคณะเยสุอิตประเทศไทย]
* [http://www.sjthailand.org/ เว็บไชต์ทางการของคณะเยสุอิตประเทศไทย]
* [http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html/ คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]
* [http://haab.catholic.or.th/priest/priestfr/sj.html/ คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต)]
* [http://en.wikisource.org/wiki/Catholic_Encyclopedia_%281913%29/The_Society_of_Jesus คณะเยสุอิต (Catholic Encyclopedia)]
* [http://en.wikisource.org/wiki/Catholic_Encyclopedia_%281913%29/The_Society_of_Jesus คณะเยสุอิต (Catholic Encyclopedia)]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:28, 12 เมษายน 2560

คณะแห่งพระเยซูเจ้า
ชื่อย่อSJ
คําขวัญAd maiorem Dei gloriam
ก่อตั้ง15 สิงหาคม 1534; 489 ปีก่อน (1534-08-15)
ประเภทคณะนักบวชคาทอลิก
สํานักงานใหญ่โบสถ์เจซู
ที่ตั้ง
บาทหลวงอดัลโฟ นีโกลัส
พนักงาน
17,287 คน
เว็บไซต์http://www.sjweb.info/

คณะเยสุอิต[1][2] (Jesuits) มีชื่อเต็มว่า คณะแห่งพระเยซูเจ้า[3] (อังกฤษ: Society of Jesus; ละติน: Societas Iesu ใช้ชื่อย่อว่า “S.J.” หรือ “S.I.”) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญอิกเนเชียสแห่งโลโยลา (St.Ignatius of Loyola) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1540 นักบวชในคณะนี้มีสมญาว่า “ทหารของพระคริสต์” (Soldiers of Christ) หรือ “ทหารราบของพระสันตะปาปา” (Foot soldiers of the Pope) เพราะนักบุญอิกเนเชียสผู้ก่อตั้งเคยเป็นอัศวินมาก่อนที่จะบวช

ในปัจจุบันนักบวชเยสุอิตทำงานสอนศาสนาใน 112 ประเทศและมีชื่อเสียงในทางการศึกษา การค้นคว้า และการส่งเสริมวัฒนธรรม นอกจากนั้นยังมีส่วนร่วมในการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนด้วย

การก่อตั้ง

เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1534 อิกเนเชียสแห่งโลโยลา นักบวชชาวสเปนและนักเรียนอีก 6 คนจากมหาวิทยาลัยปารีส ซึ่งเป็นชาวแคว้นบาสก์ ประเทศสเปน ประกอบด้วย ฟรันซิสโก คาเบียร์ (Francisco Xavier) อัลฟอนโซ ซาลเมรอน (Alfonso Salmeron) ดีเอโก ลาอีเนซ (Diego Laínez) นิโคลัส โบบาดิลลา (Nicolás Bobadilla)) ปีแยร์ ฟาฟวร์ (Pierre Favre) จากซาวอย ประเทศฝรั่งเศส และซิเมา โรดริเกซ (Simão Rodrigues) จากประเทศโปรตุเกส พบกันที่มงมาทร์ ภายในห้องเก็บศพใต้โบสถ์นักบุญเดนิส นอกเมืองปารีส ผู้ร่วมในกลุ่มนี้ตั้งคำปฏิญาณถือความความยากจนและพรหมจรรย์ เพื่อ “เข้าทำงานกับโรงพยายาลและการเผยแพร่ศาสนาที่กรุงเยรูซาเลม หรือเพื่อไปยังที่ใด ๆ ที่พระสันตะปาปามึความประสงค์จะส่งไปโดยไม่ทักท้วง”

กลุ่มนี้เรียกตนเองว่า “กองกำลังพระเยซู” (Company of Jesus) เพราะผู้เป็นสมาชิกมีความรู้สึกว่าที่มาพบปะกันได้ก็เป็นเพราะอำนาจของพระเยซู คำว่า “กองกำลัง” เป็นนัยมาจากศัพท์ที่ใช้ในการเรียกกองทหาร และยังแสดงถึงความเป็นสาวกหรือผู้ติดตามพระเยซู คำว่า “Company” มาจากภาษาละติน “cum” และ “pane” ซึ่งแปลว่า “bread with” หรือผู้ที่กินอาหารด้วยกัน

การพบกันครั้งนี้นำไปสู่การก่อตั้งกลุ่มที่ต่อมาในปี ค.ศ. 1540 เรียกตนเองว่า “Society of Jesus” คำว่า “societas” ในภาษาละตินมาจากคำว่า “socius” หรือ “ผู้ร่วม” หรือ “สหาย” ในปี ค.ศ. 1537 กลุ่มนี้ก็เดินทางไปประเทศอิตาลีเพื่อยึ่นคำขออนุมัติการตั้งคณะใหม่ต่อพระสันตะปาปา สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 ทรงอนุมัติและอนุญาตให้สมาชิกในกลุ่มนั้นรับศีลอนุกรม

สมาชิกในกลุ่มนั้นจึงทำการรับศีลเป็นนักบวชที่เวนิสโดยบิชอปแห่งอาร์บเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน หลังจากนั้นนักบวชกลุ่มก็อุทิศตัวให้กับการเทศนาและการช่วยงานการกุศลในประเทศอิตาลึ เพราะไม่สามารถเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมได้ตามที่ตั้งใจ เพราะขณะนั้นระหว่างปี ค.ศ. 1535 ถึงปี ค.ศ. 1538 เป็นระยะเวลาสงครามระหว่างจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เวนิส และรัฐสันตะปาปา กับจักรวรรดิออตโตมัน ทำให้การเดินทางไปกรุงเยรูซาเลมเป็นไปไม่ได้

สมาชิกที่มีชื่อเสียง

นักบุญ
  1. นักบุญอิกเนเชียสแห่งโลโยลา
  2. นักบุญฟรังซิสโก คาเบียร์
  3. นักบุญโรแบร์โต เบลลาร์มีโน
  4. นักบุญเปาโล มิกิ
  5. นักบุญลุยจี กอนซากา
พระสันตะปาปา
  1. สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 274
  2. คณะเยสุอิตประเทศไทย. คณะเยสุอิตประเทศไทย. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.
  3. คณะแห่งพระเยซูเจ้า (เยสุอิต). หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ต.ค. พ.ศ. 2553.