ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมโครฟิลาเมนท์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Bill-RUANG (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ไมโครฟิลาเมนท์''' ({{lang-en|microfilament}}) หรือ '''แอกทินฟิลาเมนท์''' (actin filament) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]ชนิดหนึ่งซึ่งพบใน[[ไซโทพลาสซึม]] (cytoplasm) ของเซลล์[[ยูแคริโอต]]ทุกชนิด โดยจะพบมากที่สุดบริเวณส่วนที่เป็นขอบของเซลล์ ซึ่งจัดเป็นส่วนหนึ่งใน[[ระบบเส้นใยของเซลล์]] (cytoskeloton) ที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 นาโนเมตร <br />
'''ไมโครฟิลาเมนท์''' ({{lang-en|microfilament}}) หรือ '''แอกทินฟิลาเมนท์''' (actin filament) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]ชนิดหนึ่งซึ่งพบใน[[ไซโทพลาสซึม]] (cytoplasm) ของเซลล์[[ยูแคริโอต]]ทุกชนิด โดยจะพบมากที่สุดบริเวณส่วนที่เป็นขอบของเซลล์ ซึ่งจัดเป็นส่วนหนึ่งใน[[ระบบเส้นใยของเซลล์]] (cytoskeloton) ที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 นาโนเมตร <br />
== โครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์ ==
== โครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์ ==
โครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์ประกอบด้วยโปรตีนจีแอกทิน (G actin) เป็นหน่วยย่อย โปรตีนชนิดนี้มีลักษณะเป็นก้อนกลม เมื่อนำจีแอกทินมาต่อกันเป็นสายยาวโดยใช้พลังงาน ATP ในการต่อจะเรียกสายยาวนั้นว่า เอฟแอกทิน (F actin) ซึ่งมีลักษณะคล้ายสร้อยไข่มุก โดยไมโครฟิลาเมนท์ 1 สาย จะประกอบไปด้วยเอฟแอกทิน 2 สาย พันกันเป็นเกลียว สำหรับการสร้างไมโครฟิลาเมนท์นั้น เมื่อนำจีแอกทินมาต่อกันเป็นสายยาวจะพบว่า ปลายด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย barbed end จะสามารถสร้างไมโครฟิลาเมนท์ได้เร็วกว่าปลายอีกด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย pointed end ประมาณ 5-10 เท่า ซึ่งโครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์นั้นสามารถเกิดกระบวนการย้อนกลับไปเป็นหน่วยย่อยจีแอกทินเหมือนเดิมได้ทั้งปลาย barbed end และปลาย pointed end<br /><br />
โครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์ประกอบด้วยโปรตีนจีแอกทิน (G actin) เป็นหน่วยย่อย โปรตีนชนิดนี้มีลักษณะเป็นก้อนกลม เมื่อนำจีแอกทินมาต่อกันเป็นสายยาวโดยใช้พลังงาน ATP ในการต่อจะเรียกสายยาวนั้นว่า เอฟแอกทิน (F actin) ซึ่งมีลักษณะคล้ายสร้อยไข่มุก โดยไมโครฟิลาเมนท์ 1 สาย จะประกอบไปด้วยเอฟแอกทิน 2 สาย พันกันเป็นเกลียว สำหรับการสร้างไมโครฟิลาเมนท์นั้น เมื่อนำจีแอกทินมาต่อกันเป็นสายยาวจะพบว่า ปลายด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย barbed end หรือเรียกว่าปลายบวก (plus end) จะสามารถสร้างไมโครฟิลาเมนท์ได้เร็วกว่าปลายอีกด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย pointed end หรือปลายลบ (minus end) ประมาณ 5-10 เท่า ซึ่งโครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์นั้นสามารถเกิดกระบวนการย้อนกลับไปเป็นหน่วยย่อยจีแอกทินเหมือนเดิมได้จากทั้งสองปลาย
สารที่มีผลต่อไมโครฟิลาเมนท์ เช่น cytochalasin เป็นสารที่สกัดจากเชื่อราชนิดหนึ่ง มีผลให้จีแอกทินไม่สามารถรวมตัวกันเป็นไมโครฟิลาเมนท์ได้ สารอีกชนิดหนึ่งซึ่งทำงานตรงข้ามกันกับ cytochalasin คือ phalloidin เป็นสารที่สกัดจากเห็ดพิษ สารตัวนี้จะไปเพิ่มความคงตัวของไมโครฟิลาเมนท์หรือยับยั้งการสลายตัวของไมโครฟิลาเมนท์นั่นเอง<br /><br />


สารบางชนิดจะมีผลต่อการทำงานของไมโครฟิลาเมนท์ เช่น cytochalasin เป็นสารที่สกัดจากเชื่อราชนิดหนึ่ง มีผลให้จีแอกทินไม่สามารถรวมตัวกันเป็นไมโครฟิลาเมนท์ได้ สารอีกชนิดหนึ่งซึ่งทำงานตรงข้ามกันกับ cytochalasin คือ phalloidin เป็นสารที่สกัดจากเห็ดพิษ สารตัวนี้จะไปเพิ่มความคงตัวของไมโครฟิลาเมนท์หรือยับยั้งการสลายตัวของไมโครฟิลาเมนท์นั่นเอง
ไมโครฟิลาเมนท์นั้นจะมีโปรตีนหลายชนิดมาร่วมทำงานด้วย เช่น โทรโปไมซิน (tropomysin) มีลักษณะเป็นสายยาวมาพันกับสายของไมโครฟิลาเมนท์ โปรตีนแอกทินชนิดเบต้าและแกมมา มีลักษณะเป็นก้อนมาจับกับไมโครฟิลาเมนท์ <br />

=== หน้าที่ของไมโครฟิลาเมนท์ ===
=== โปรตีนที่จับกับไมโครฟิลาเมนท์ ===
ไมโครฟิลาเมนท์นั้นจะมีโปรตีนหลายชนิดมาร่วมทำงานด้วย โปรตีนบางชนิดจะเข้ามาเกาะกับไมโครฟิลาเมนท์เพื่อกำหนดหน้าที่และควบคุมการทำงานของไมโครฟิลาเมนท์ เรียกโปรตีนเหล่านี้ว่า '''[[acting-binding protein]]''' เช่น
*'''[[ฟอร์มิน]]''' (formin) จะเกาะที่ปลายบวกของไมโครฟิลาเมนท์เพื่อช่วยให้เกิด[[พอลิเมอไรเซชัน]]ของหน่วยย่อยแอกติน ทำให้สายไมโครฟิลาเมนท์ยาวขึ้นจากทางด้านปลายบวก
*'''เออาร์พีคอมเพลกซ์''' (ARP complex หรือ actin-related preotein complex) ทำหน้าที่เป็น nucleation site ของไมโครฟิลาเมนท์สายใหม่
*'''[[ไทโมซิน]]''' (thymosin) และ '''[[โพรฟิลิน]]''' (profilin) จะป้องกันการเกิดพอลิเมอไรเซชันของแอกติน โดยการจับกับหน่วยย่อยของแอกตินอิสระใน[[ไซโทซอล]]ไว้เพื่อไม่ให้เข้ามารวมกับสายไมโครฟิลาเมนท์
*'''[[โทรโปไมโอซิน]]''' (tropomyosin) มีลักษณะเป็นสายยาวมาพันกับสายของไมโครฟิลาเมนท์

== หน้าที่ของไมโครฟิลาเมนท์ ==
บทบาทหน้าที่ของไมโครฟิลาเมน์ต่อเซลล์ที่สำคัญ ได้แก่คือเรื่องของการเคลื่อนไหว รูปร่างของเซลล์ และการแบ่งไซโทพลาสซึมในระยะของการแบ่งเซลล์ ตัวอย่างเช่น ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ[[เซลล์]]พบใน [[อะมีบา]] เซลล์เม็ดเลือดขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ค้ำจุน ซึ่งพบในไมโครวิลไล ซึ่งเป็นส่วนของเซลล์เยื่อบุผิวในลำไส้เล็ก
บทบาทหน้าที่ของไมโครฟิลาเมน์ต่อเซลล์ที่สำคัญ ได้แก่คือเรื่องของการเคลื่อนไหว รูปร่างของเซลล์ และการแบ่งไซโทพลาสซึมในระยะของการแบ่งเซลล์ ตัวอย่างเช่น ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ[[เซลล์]]พบใน [[อะมีบา]] เซลล์เม็ดเลือดขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ค้ำจุน ซึ่งพบในไมโครวิลไล ซึ่งเป็นส่วนของเซลล์เยื่อบุผิวในลำไส้เล็ก



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:51, 9 เมษายน 2560

ไมโครฟิลาเมนท์ (อังกฤษ: microfilament) หรือ แอกทินฟิลาเมนท์ (actin filament) เป็นออร์แกเนลล์ชนิดหนึ่งซึ่งพบในไซโทพลาสซึม (cytoplasm) ของเซลล์ยูแคริโอตทุกชนิด โดยจะพบมากที่สุดบริเวณส่วนที่เป็นขอบของเซลล์ ซึ่งจัดเป็นส่วนหนึ่งในระบบเส้นใยของเซลล์ (cytoskeloton) ที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 นาโนเมตร

โครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์

โครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์ประกอบด้วยโปรตีนจีแอกทิน (G actin) เป็นหน่วยย่อย โปรตีนชนิดนี้มีลักษณะเป็นก้อนกลม เมื่อนำจีแอกทินมาต่อกันเป็นสายยาวโดยใช้พลังงาน ATP ในการต่อจะเรียกสายยาวนั้นว่า เอฟแอกทิน (F actin) ซึ่งมีลักษณะคล้ายสร้อยไข่มุก โดยไมโครฟิลาเมนท์ 1 สาย จะประกอบไปด้วยเอฟแอกทิน 2 สาย พันกันเป็นเกลียว สำหรับการสร้างไมโครฟิลาเมนท์นั้น เมื่อนำจีแอกทินมาต่อกันเป็นสายยาวจะพบว่า ปลายด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย barbed end หรือเรียกว่าปลายบวก (plus end) จะสามารถสร้างไมโครฟิลาเมนท์ได้เร็วกว่าปลายอีกด้านหนึ่งซึ่งเป็นปลาย pointed end หรือปลายลบ (minus end) ประมาณ 5-10 เท่า ซึ่งโครงสร้างของไมโครฟิลาเมนท์นั้นสามารถเกิดกระบวนการย้อนกลับไปเป็นหน่วยย่อยจีแอกทินเหมือนเดิมได้จากทั้งสองปลาย

สารบางชนิดจะมีผลต่อการทำงานของไมโครฟิลาเมนท์ เช่น cytochalasin เป็นสารที่สกัดจากเชื่อราชนิดหนึ่ง มีผลให้จีแอกทินไม่สามารถรวมตัวกันเป็นไมโครฟิลาเมนท์ได้ สารอีกชนิดหนึ่งซึ่งทำงานตรงข้ามกันกับ cytochalasin คือ phalloidin เป็นสารที่สกัดจากเห็ดพิษ สารตัวนี้จะไปเพิ่มความคงตัวของไมโครฟิลาเมนท์หรือยับยั้งการสลายตัวของไมโครฟิลาเมนท์นั่นเอง

โปรตีนที่จับกับไมโครฟิลาเมนท์

ไมโครฟิลาเมนท์นั้นจะมีโปรตีนหลายชนิดมาร่วมทำงานด้วย โปรตีนบางชนิดจะเข้ามาเกาะกับไมโครฟิลาเมนท์เพื่อกำหนดหน้าที่และควบคุมการทำงานของไมโครฟิลาเมนท์ เรียกโปรตีนเหล่านี้ว่า acting-binding protein เช่น

  • ฟอร์มิน (formin) จะเกาะที่ปลายบวกของไมโครฟิลาเมนท์เพื่อช่วยให้เกิดพอลิเมอไรเซชันของหน่วยย่อยแอกติน ทำให้สายไมโครฟิลาเมนท์ยาวขึ้นจากทางด้านปลายบวก
  • เออาร์พีคอมเพลกซ์ (ARP complex หรือ actin-related preotein complex) ทำหน้าที่เป็น nucleation site ของไมโครฟิลาเมนท์สายใหม่
  • ไทโมซิน (thymosin) และ โพรฟิลิน (profilin) จะป้องกันการเกิดพอลิเมอไรเซชันของแอกติน โดยการจับกับหน่วยย่อยของแอกตินอิสระในไซโทซอลไว้เพื่อไม่ให้เข้ามารวมกับสายไมโครฟิลาเมนท์
  • โทรโปไมโอซิน (tropomyosin) มีลักษณะเป็นสายยาวมาพันกับสายของไมโครฟิลาเมนท์

หน้าที่ของไมโครฟิลาเมนท์

บทบาทหน้าที่ของไมโครฟิลาเมน์ต่อเซลล์ที่สำคัญ ได้แก่คือเรื่องของการเคลื่อนไหว รูปร่างของเซลล์ และการแบ่งไซโทพลาสซึมในระยะของการแบ่งเซลล์ ตัวอย่างเช่น ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเซลล์พบใน อะมีบา เซลล์เม็ดเลือดขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ค้ำจุน ซึ่งพบในไมโครวิลไล ซึ่งเป็นส่วนของเซลล์เยื่อบุผิวในลำไส้เล็ก