ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าจิงกูจา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่เอาอ้างอิงจากยูทูป
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พระเจ้าจิงกูจา''' ({{lang-en|Singu Min}}) พระโอรสของ[[พระเจ้ามังระ]] ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น [[พระเจ้าปดุง]] ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง
'''พระเจ้าจิงกูจา''' ({{lang-en|Singu Min}},{{lang-my|စဉ့်ကူးမင်း}}) พระโอรสของ[[พระเจ้ามังระ]] ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น [[พระเจ้าปดุง]] ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง


พระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียงชั่วระยะเวลาไม่นาน ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ [[พระเจ้าหม่องหม่อง|หม่องหม่อง]] โอรสของ[[พระเจ้ามังลอก]] ทำการ[[รัฐประหาร]]ยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปที่ต่างเมือง โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้ง[[อะแซหวุ่นกี้]] แม่ทัพคนสำคัญที่ถูกเรียกตัวกลับระหว่างศึกที่เข้าตี[[พิษณุโลก]]ด้วย) แต่หลังจากนั้นไม่นาน ทั้งคู่ก็ถูกประหารชีวิตเสียสิ้น จากพระเจ้าปดุงที่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์รัชกาลถัดไป
พระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียงชั่วระยะเวลาไม่นาน ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ [[พระเจ้าหม่องหม่อง|หม่องหม่อง]] โอรสของ[[พระเจ้ามังลอก]] ทำการ[[รัฐประหาร]]ยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปที่ต่างเมือง โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้ง[[อะแซหวุ่นกี้]] แม่ทัพคนสำคัญที่ถูกเรียกตัวกลับระหว่างศึกที่เข้าตี[[พิษณุโลก]]ด้วย) แต่หลังจากนั้นไม่นาน ทั้งคู่ก็ถูกประหารชีวิตเสียสิ้น จากพระเจ้าปดุงที่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์รัชกาลถัดไป


พระเจ้าจิงกูจา มีชื่อเรียกใน[[ภาษาพม่า]]ว่า "เซงกูเมง" (စဉ့်ကူးမင်း)<ref>{{cite web|title=เทปสนทนาเรื่อง วาระสุดท้าย...ของ อาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์อลองพญา โดย ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ วีระ ธีรภัทร (เมษายน พ.ศ. 2544)|url=https://www.youtube.com/watch?v=dr82plLljOo&t=10s}} </ref><ref>[http://www.royalark.net/Burma/konbaun3.htm "The Konbaung Dynasty Genealogy: King Singu".]</ref>
พระเจ้าจิงกูจา มีชื่อเรียกใน[[ภาษาพม่า]]ว่า "เซงกูเมง" <ref>[[ตลับเทป|เทป]]สนทนาเรื่อง วาระสุดท้าย...ของ อาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์อลองพญา โดย ดร.[[สุเนตร ชุตินธรานนท์]] [[วีระ ธีรภัทร]] ([[เมษายน]] [[พ.ศ. 2544]]) </ref><ref>[http://www.royalark.net/Burma/konbaun3.htm "The Konbaung Dynasty Genealogy: King Singu".]</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:29, 7 เมษายน 2560

พระเจ้าจิงกูจา (อังกฤษ: Singu Min,พม่า: စဉ့်ကူးမင်း) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง

พระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียงชั่วระยะเวลาไม่นาน ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปที่ต่างเมือง โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพคนสำคัญที่ถูกเรียกตัวกลับระหว่างศึกที่เข้าตีพิษณุโลกด้วย) แต่หลังจากนั้นไม่นาน ทั้งคู่ก็ถูกประหารชีวิตเสียสิ้น จากพระเจ้าปดุงที่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์รัชกาลถัดไป

พระเจ้าจิงกูจา มีชื่อเรียกในภาษาพม่าว่า "เซงกูเมง" [1][2]

อ้างอิง

  1. เทปสนทนาเรื่อง วาระสุดท้าย...ของ อาณาจักรอยุธยาและราชวงศ์อลองพญา โดย ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ วีระ ธีรภัทร (เมษายน พ.ศ. 2544)
  2. "The Konbaung Dynasty Genealogy: King Singu".
ก่อนหน้า พระเจ้าจิงกูจา ถัดไป
พระเจ้ามังระ พระมหากษัตริย์พม่า
(อาณาจักรพม่ายุคที่ 3)

(พ.ศ. 2319 - พ.ศ. 2325)
พระเจ้าหม่องหม่อง