ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือการ์ตูน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก|small=yes}}
{{กึ่งล็อก|small=yes}}
ปิ่น
{{ต้องการอ้างอิง}}
ปิ่น
'''หนังสือการ์ตูน''' เป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ภาพและคำพูดประกอบ บอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ตามเนื้อเรื่องที่เขียนขึ้น มีทั้งที่อ้างอิงจากความจริง และเกิดจากความคิดของ[[นักวาดการ์ตูน]] หรือ[[นักแต่งการ์ตูน]] เป็นผู้วางเอาไว้ สำหรับการ์ตูนญี่ปุ่นอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า [[มังงะ]]

โดยส่วนใหญ่ หนังสือการ์ตูน จะเป็นการรวมเล่มของการ์ตูนที่ตีพิมพ์ใน[[หนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์]] เช่น [[บูม (หนังสือการ์ตูน)|บูม]], [[ซีคิดส์]], KC Weekly เป็นต้น

ยังมีการ์ตูนที่แต่งเป็นพิเศษ หรือล้อเลียนการ์ตูนที่เขียนขึ้นแล้ว เพื่อความบันเทิงส่วนตัว หรือแต่งเพื่อกลุ่มคนที่ชอบในรูปแบบเดียวกัน เรียกว่า โดจิน หรือ[[โดจินชิ]]


== ภาพวาดที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูน ==
== ภาพวาดที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:33, 30 มีนาคม 2560

ปิ่น ปิ่น

ภาพวาดที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูน

1. ภาพเหมือนจริง
คือถ่ายทอดลักษณะทางกายภาพออกมาสมส่วน เหมือนหรือคล้ายใกล้เคียงของจริงมาก มีต้นแบบจากสิ่งที่มีอยู่จริง โครงสร้างลักษณะสถาปัตยกรรมที่มีอยู่ในการ์ตูนแบบนี้ดูสมส่วนเป็นไปได้ สามารถก่อสร้างขึ้นได้จริง ดังนั้นลักษณะการ์ตูนประเภทนี้จึงดูน่าเชื่อถือ
2. ภาพเกินจริง
คือเป็นภาพที่ออกเกินเลยของจริง ไม่สมส่วน มีความสามารถเกินจริง เช่น บินได้ ล้มต้นไม้ใหญ่ด้วยมือเปล่า อวัยวะบางส่วนใหญ่หรือเล็กเกินจริง มีอวัยวะบางอย่างน้อยหรือมากเกินจริง เช่น มีนิ้วมือ 8 นิ้ว มีตา 3 ตา เป็นต้น
3. ลักษณะเฉพาะ
ไม่เหมือนจริง คือเป็นลักษณะภาพวาดตามจินตนาการของผู้แต่ง หรือนักเขียน โดยลักษณะภาพมีเอกลักษณ์เฉพาะนักเขียนแต่ล่ะท่าน ที่นิยมคือ มีลักษณะหัวใหญ่ ตัวผอม ตาโต ดูน่ารัก แสดงอารมณ์ชัดเจน

การสร้างแนวเรื่องของการ์ตูน

  1. สร้างหรือแต่งขึ้นตามจินตนาการ
  2. สร้างจากเรื่องจริง แต่อาจมีการเสริมเติมแต่งเพิ่มเพื่อความสนุก แต่งจะยึดถือเค้าโครงเรื่องจริงเป็นหลัก
  3. นำเรื่องอื่นดัดแปลงแก้ไขมา อย่างเช่น ตำนานไซอิ๋ว ก็มีการนำมาดัดแปลงแก้ไขแต่งเติมเสริมต่อเป็นเรื่องต่าง ๆ ออกมามากมาย

การสร้างเรื่องราว

  1. เรื่องราวเหตุการณ์ที่มีในชีวิตประจำวัน
  2. เรื่องราวสมมุติ สร้างขึ้น เหนือจริง

แนวเรื่องและเนื้อหาของการ์ตูนไทย

  1. ตลกเฮฮาเน้นความสนุกสนาน อาจจะโดยทั้งเรื่อง หรือแทรกมาในบางช่วงตามเทคนิคของนักเขียน เป็นลักษณะทั่วไปของการ์ตูนส่วนใหญ่ เพื่อหวังนำเสนอกลุ่มนักอ่านส่วนใหญ่ที่เป็นเยาวชน
  2. จริงจังซีเรียส มักเป็นการ์ตูนประเภทกึ่งวิชาการ เนื้อหาจริงจัง เพื่อให้ดูน่าเชื่อถือ
  3. การ์ตูนวิชาการ มักจะเป็นเรื่องสั้น ๆ สร้างเพื่อแนะนำบุคคล อุปกรณ์ องค์กร สถานที่ต่าง ๆ
  4. ลามก หยาบโลน เนื้อหารุนแรง ส่อเสียดสังคม หนังสือการ์ตูนไม่ดีประเภทนี้มักปะปนมาแอบแฝงกับหนังสืออื่น ๆ ผู้ปกครองควรพิจารณาและให้ความรู้ คำแนะนำแก่เยาวชน

การนำเสนอ

  1. หน้าเดียวจบ การเขียนแบบนี้ นักเขียนการ์ตูนของไทยนิยมใช้ เป็นภาพ 3 ช่องจบ
  2. เป็นเรื่องสั้น ตอนเดียวจบ
  3. เป็นเรื่องสั้น เล่มเดียวจบ
  4. เป็นเรื่องยาว หลายตอน หลายเล่มจบ

ผู้แต่งและผู้เขียน

  1. ผู้แต่งและผู้เขียนเป็นบุคคลเดียวกัน
  2. ผู้แต่งเป็นคนล่ะบุคคลกับผู้เขียน

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น