ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ประกอบไปด้วย 2 เขตรักษาพันธุ์ฯ ไม่ใช่อันเดียว...
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
}}
}}


'''เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง''' คืนแหล่งมรดกโลกของประเทศไทย ประกอบด้วยสองเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ได้แก่ [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร]]และ[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง]]
'''เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง''' คืนแหล่ง[[มรดกโลก]]ทางธรรมชาติของประเทศไทย ประกอบด้วยสองเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ได้แก่ [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร]]และ[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง]] ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดอุทัยธานี]] [[ตาก]]และ[[กาญจนบุรี]] ทางตะวันตกของประเทศใกล้กับชายแดน[[ประเทศพม่า]] ภายในประกอบด้วยแม่น้ำสองสายคือแก่งใหญ่และห้วยขาแข้ง ครอบคลุมพื้นที่ 622,200 เฮกตาร์ เป็นพื้นที่อนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดใน[[คาบสมุทรอินโดจีน]] เป็นพื้นที่ป่าที่สามารถเข้าถึงได้น้อยที่สุด และเป็นบริเวณที่รบกวนน้อยที่สุดของประเทศ โดยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ 77% (โดยเฉพาะ[[ช้าง]]และ[[เสือ]]) นกขนาดใหญ่ 50% และ สัตว์มีกระดูกสันหลังบก 33% ที่พบในภูมิภาคนี้
สามารถพบได้ในแหล่งมรดกโลกแห่งนี้


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:59, 30 มีนาคม 2560

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ประเทศราชอาณาจักรไทย
ประเภทมรดกทางธรรมชาติ
เกณฑ์พิจารณา(vii) (ix) (x)
อ้างอิง591
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2534 (คณะกรรมการสมัยที่ 15)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง คืนแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติของประเทศไทย ประกอบด้วยสองเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ได้แก่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี ตากและกาญจนบุรี ทางตะวันตกของประเทศใกล้กับชายแดนประเทศพม่า ภายในประกอบด้วยแม่น้ำสองสายคือแก่งใหญ่และห้วยขาแข้ง ครอบคลุมพื้นที่ 622,200 เฮกตาร์ เป็นพื้นที่อนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในคาบสมุทรอินโดจีน เป็นพื้นที่ป่าที่สามารถเข้าถึงได้น้อยที่สุด และเป็นบริเวณที่รบกวนน้อยที่สุดของประเทศ โดยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ 77% (โดยเฉพาะช้างและเสือ) นกขนาดใหญ่ 50% และ สัตว์มีกระดูกสันหลังบก 33% ที่พบในภูมิภาคนี้ สามารถพบได้ในแหล่งมรดกโลกแห่งนี้

แหล่งข้อมูลอื่น

"Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries" (ภาษาอังกฤษ). UNESCO World Heritage Centre. สืบค้นเมื่อ 6 January 2017.