ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์"

พิกัด: 13°37′46″N 100°32′08″E / 13.629414°N 100.535506°E / 13.629414; 100.535506
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการก่อกวน
เอาไฟล์เสียออก ลบข้อความที่ซ้ำซ้อน
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
|logo =
|logo =
|seal_image =
|seal_image =
|image =
|image = [[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์.jpg|200px|ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์]]
|image size =
|image size =
|imagewikilink =
|imagewikilink =
บรรทัด 215: บรรทัด 215:
}}
}}


โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๖ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนนี้ได้กำเนิดขึ้นโดยท่านผู้หญิง[[ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา]]ประธานกรรมการจัดโรงเรียน เป็นผู้รับสนองพระราชดำริใน[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ดำเนินการจัดสร้างโรงเรียน เพื่อจัดการศึกษาให้แก่บุตรผู้ป่วยโรคเรื้อนที่ปราศจากเชื้อและทรงรับเป็นนักเรียนในพระบรมราชานุเคราะห์อยู่ประจำที่โรงเรียน [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]และ[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียน เมื่อวันที่ [[๑๖ มกราคม ๒๕๐๗]] และโรงเรียนได้นับว่าวันนี้เป็นวันพระราชทานกำเนิดโรงเรียน
[[โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์]]
เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๖
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนนี้ได้กำเนิดขึ้น
โดยท่านผู้หญิง[[ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา]]ประธานกรรมการจัดโรงเรียน
เป็นผู้รับสนองพระราชดำริใน[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ดำเนินการจัดสร้างโรงเรียน เพื่อจัดการศึกษา
ให้แก่บุตรผู้ป่วยโรคเรื้อนที่ปราศจากเชื้อและทรงรับเป็นนักเรียน
ในพระบรมราชานุเคราะห์อยู่ประจำที่โรงเรียน [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]
และ[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ได้เสด็จพระราชดำเนิน
ทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียน เมื่อวันที่ [[๑๖ มกราคม ๒๕๐๗]] และโรงเรียนได้นับว่าวันนี้เป็นวันพระราชทานกำเนิดโรงเรียน

=== เกี่ยวกับโรงเรียน ===
== ตราประจำโรงเรียน ==
เป็นรูป[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]]เปล่งรัศมี
มีอักษร ร.ป.ร. คืออักษรย่อ
ของชื่อโรงเรียน [[สีน้ำเงิน]]และ[[สีเหลือง]]อยู่ใต้[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]]
และมีชื่อโรงเรียนอยู่ในแถบผ้าโอบล้อมอักษรย่อ

== สีประจำโรงเรียน ==
[[น้ำเงิน]]-[[เหลื่อง]]
[[น้ำเงิน]] หมายถึง สีประจำพระองค์
[[พระมหากษัตริย์]]
[[สีเหลือง]] หมายถึง สีประจำวัน[[พระราชสมภพ]]
ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]

== พระพุทธรูปประจำโรงเรียน ==
[[พระพุทธ]]ราชประชาสมาสัย

== ต้นไม้ประจำโรงเรียน ==
[[ต้นนนทรี]]

== ปรัชญา ==
เรียนดี เล่นดี [[มีวินัย]] ใฝ่คุณธรรม

== คำขวัญ ==
[[ศีลธรรม]]พัฒนาจิตใจ
ความรู้ [[ระเบียบ]]วินัยพัฒนาสังคม

== คำขวัญโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ==
รัก[[ศักดิ์ศรี]] มี[[คุณธรรม]] นำวิชาการ สืบสานงาน[[พระราชดำริ]]

== อัตลักษณ์ของโรงเรียน ==
สำนึกใน[[พระมหากรุณาธิคุณ]]

== เอกลักษณ์ของโรงเรียน ==
โรงเรียนเฉลิม[[พระเกียรติ]]
และโรงเรียนใน[[พระราชดำริ]]

=== ประวัติโรงเรียน ===
[[โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์]]
เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๖
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนนี้ได้กำเนิดขึ้น
โดยท่านผู้หญิง[[ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา]]ประธานกรรมการจัดโรงเรียน
เป็นผู้รับสนองพระราชดำริใน[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ดำเนินการจัดสร้างโรงเรียน เพื่อจัดการศึกษา
ให้แก่บุตรผู้ป่วยโรคเรื้อนที่ปราศจากเชื้อและทรงรับเป็นนักเรียน
ในพระบรมราชานุเคราะห์อยู่ประจำที่โรงเรียน [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]
และ[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ได้เสด็จพระราชดำเนิน
ทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียน เมื่อวันที่ [[๑๖ มกราคม ๒๕๐๗]] และโรงเรียนได้นับว่าวันนี้เป็นวันพระราชทานกำเนิดโรงเรียน

ต่อมาได้ดำเนินการจัดสร้างโรงเรียนรัฐบาลระดับมัธยมศึกษาในนามมูลนิธิ
ราชประชาสมาสัยเพื่อรองรับนักเรียนที่จะจบการศึกษาให้มีแหล่งศึกษาต่อ
ในระดับที่สูงขึ้นโดยกระทรวงศึกษาธิการได้ขออนุมัติใช้งบประมาณสำหรับ
ฉลองรัชดาภิเษก ในวโรกาสที่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงครอง
สิริราชสมบัติครบ ๒๕ ปี ในปี ๒๕๑๔ โดยเมื่อแรกสร้างใช้ชื่อว่า
“โรงเรียนราชประชาสมาสัยรัชดาภิเษก”
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ได้ยืมตัวนายกิตติ พวงเกษม มาช่วยราชการทำหน้าที่ผู้ช่วยครูใหญ่ และขออนุญาตอธิบดีกรมสามัญศึกษาให้ คุณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่อีกตำแหน่งหนึ่ง

เมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๑๘ [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี]]เสด็จพระราชดำเนินมาทรงประกอบพิธีเปิดอาคารรัชดาภิเษก 1 และเริ่มใช้ปฏิบัติการเรียนการสอนครั้งแรกในปี
พ.ศ. ๒๕๑๘ ต่อมามีการจัดสร้าง อาคารเรียนหลังที่ ๒
[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
เสด็จพระราชดำเนินมาทรงประกอบพิธีเปิดอาคาร รัชดาภิเษก ๒
หอประชุม และโรงฝึกงาน เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๒๑

ต่อมาในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๗ [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จฯ แทนพระองค์ ประกอบพิธีเปิดสนามกีฬารวม
ของ โรงเรียน และเมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ขอเปลี่ยนชื่อเป็น
“โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์”

=== ทำเนียบผู้บริหาร ===
1. ชัยเนตร ไวยคณี (ผู้อำนวยการ) <br> 2. วุฒิศักดิ์ แดงสกุล (รองผู้อำนวยการ,กลุ่มบริหารวิชาการ) <br> 3. ศัลย์ชัยยศ ภูดิทเดชวัฒน์ (รองผู้อำนวยการ,กลุ่มบริหารทั่วไป) <br> 4. ฐปนนท ยิ่งชนะ (รองผู้อำนวยการ,กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน) <br> 5. เบญจวรรณ แดงสกุล (ครุปฏิบัติหน้าที่ รองผู้อำนวยการ,กลุ่มบริหารงบประมาณ)

=== วิสัยทัศน์ ===
“ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสากล ครูและบุคลากรทุกคนเป็นมืออาชีพ มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สืบสานงานตามแนวพระราชดำริ ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ”

=== พันธกิจ ===
1. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
2. ส่งเสริมและปลูกฝังผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
3. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝ่เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้คิดเป็น ทำเป็น มีทักษะการสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน
5. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
6. ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
7. ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสู่มาตรฐานสากล
8. ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
9. ส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
10. ส่งเสริมและพัฒนาโครงการพิเศษด้านความสามารถด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียนก่อนสำเร็จการศึกษา
และโครงการพิเศษด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

=== อ้างอิง ===
{{รายการอ้างอิง}}

=== แหล่งข้อมูลอื่น ===
* [http://school.obec.go.th/rajpracha เว็บไซต์โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์]
{{geolinks-bldg|13.629414|100.535506}}

{{รายชื่อโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ}}

{{เรียงลำดับ|ราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์}}
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดสมุทรปราการ]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
[[หมวดหมู่:องค์กรในพระบรมราชูปถัมภ์ในประเทศไทย]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:31, 23 กุมภาพันธ์ 2560

โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์
แผนที่
51 หมู่ที่ 1 ตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ปณ.10130
ข้อมูล
ประเภทโรงเรียนโรงเรียนรัฐบาล
คำขวัญศีลธรรมพัฒนาจิตใจ ความรู้ ระเบียบวินัยพัฒนาสังคม
ก่อตั้ง16 มกราคม พ.ศ. 2507 (60 ปี)
ผู้ก่อตั้งดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา
คณะกรรมการบริหารผู้อำนวยการโรงเรียน
สมาคมคมผู้ปกครองและครู
ชมรมศิษย์เก่า
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เครือข่ายผู้ปกครอง
รหัส1001110403 (ใหม่)
01110403 (เก่า)
ผู้บริหารชัยเนตร ไวยคณี
วุฒิศักดิ์ แดงสกุล
ศัลย์ชัยยศ ภูดิทเดชวัฒน์
ฐปนนท ยิ่งชนะ
เบญจวรรณ แดงสกุล
ผู้อำนวยการชัยเนตร ไวยคณี
เพลงมาร์ชราชประชาสมาสัย
ร.ป.ร. รำลึก
มาร์ช ร.ป.ร.
เก้าโรงเรียนของพ่อ
รำวงรัชดาสัมพันธ์
เว็บไซต์http://www.rpr.ac.th

โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๖ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนนี้ได้กำเนิดขึ้นโดยท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยาประธานกรรมการจัดโรงเรียน เป็นผู้รับสนองพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ดำเนินการจัดสร้างโรงเรียน เพื่อจัดการศึกษาให้แก่บุตรผู้ป่วยโรคเรื้อนที่ปราศจากเชื้อและทรงรับเป็นนักเรียนในพระบรมราชานุเคราะห์อยู่ประจำที่โรงเรียน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียน เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๗ และโรงเรียนได้นับว่าวันนี้เป็นวันพระราชทานกำเนิดโรงเรียน

ประวัติ

โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้รับการก่อตั้งโดยท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการจัดโรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ติดต่อกรมวิสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในปี พ.ศ. 2513 ให้ก่อสร้างโรงเรียนรัฐบาลระดับชั้นมัธยมศึกษาในนามมูลนิธิราชประชาสมาสัย ซึ่งต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรีใช้งบประมาณสำหรับฉลองรัชดาภิเษก ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 25 ปี โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชานุเคราะห์ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ขอแลกที่ดินบริเวณตรงข้ามโรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นที่ดินของกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 43 ไร่ และก่อสร้างอาคารเรียน บ้านพักครู และสาธารณูปโภค ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 ท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ได้ยืมตัวนายกิตติ พวงเกษม มาช่วยราชการทำหน้าที่ผู้ช่วยครูใหญ่ และขออนุญาตอธิบดีกรมสามัญศึกษาให้ คุณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่อีกตำแหน่งหนึ่ง และเริ่มทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2518[1]

วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2528 โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชานุเคราะห์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ์

กิจการโรงเรียนปัจจุบัน

ทำเนียบผู้บริหารกิจการในโรงเรียนปัจจุบัน

ผู้อำนวยการคนปัจจุบัน นายชัยเนตร ไวยคณี

รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ นายสุรพล พรชัย

รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน นางมยุรีย์ คนเจน

รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานทั่วไป นายชวลิต แดงเปล่ง

รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานงบประมาณ นางประทีป แป้นสกุล

สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน

  • ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน เป็นรูปพระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี มีอักษร ร.ป.ร คืออักษรย่อของชื่อโรงเรียนสีน้ำเงินและสีเหลือง อยู่ใต้พระมหาพิชัยมงกุฎและมีชื่อโรงเรียนอยู่ในแถบผ้าโอบล้อมอักษรย่อ
  • ปรัชญา เรียนดี เล่นดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
  • คำขวัญ ศีลธรรมพัฒนาจิตใจ ความรู้ ระเบียบวินัยพัฒนาสังคม
  • สีประจำโรงเรียน
  • พระพุทธรูปประจำโรงเรียน พระพุทธราชประชาสมาสัย
  • ต้นไม้ประจำโรงเรียน ต้นนนทรี
  • เพลงประจำโรงเรียน เพลงมาร์ชราชประชาสมาสัย[2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°37′46″N 100°32′08″E / 13.629414°N 100.535506°E / 13.629414; 100.535506