ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอรีส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
'''แอรีส''' ({{lang-en|Ares}} {{IPA|/ˈɛəriz/}}; {{lang-grc|Ἄρης}} {{IPA|[árɛːs]}} ''อาแรส'') ทรงเป็นพระเจ้าแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งใน[[เทวสภาโอลิมปัส|สิบสองพระเจ้าโอลิมปัส]] และพระโอรสของ[[ซูส]]และ[[ฮีรา]]<ref>[[Hesiod]], ''Theogony'' 921 ([[Loeb Classical Library]] [http://books.google.com/books?id=lnCXI9oFeroC&dq=Ares+intitle%3Atheogony+inauthor%3Ahesiod&q=%22she%2C+mingling+in+love%22+Ares#v=snippet&q=%22she%2C%20mingling%20in%20love%22%20Ares&f=false numbering]); ''[[Iliad]]'', 5.890–896. By contrast, Ares' Roman counterpart [[Mars (mythology)|Mars]] was born from [[Juno (mythology)|Juno]] alone, according to [[Ovid]] (''[[Fasti (Ovid)|Fasti]]'' 5.229–260).</ref> ในวรรณกรรมกรีก พระองค์มักเป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับ[[อะธีนา]] ผู้ทรงเป็นเทพเจ้าแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ<ref>[[Walter Burkert]], ''Greek Religion'' (Blackwell, 1985, 2004 reprint, originally published 1977 in German), pp. 141; William Hansen, ''Classical Mythology: A Guide to the Mythical World of the Greeks and Romans'' (Oxford University Press, 2005), p. 113.</ref>
'''แอรีส''' ({{lang-en|Ares}} {{IPA|/ˈɛəriz/}}; {{lang-grc|Ἄρης}} {{IPA|[árɛːs]}} ''อาแรส'') ทรงเป็นพระเจ้าแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งใน[[เทวสภาโอลิมปัส|สิบสองพระเจ้าโอลิมปัส]] และพระโอรสของ[[ซูส]]และ[[ฮีรา]]<ref>[[Hesiod]], ''Theogony'' 921 ([[Loeb Classical Library]] [http://books.google.com/books?id=lnCXI9oFeroC&dq=Ares+intitle%3Atheogony+inauthor%3Ahesiod&q=%22she%2C+mingling+in+love%22+Ares#v=snippet&q=%22she%2C%20mingling%20in%20love%22%20Ares&f=false numbering]); ''[[Iliad]]'', 5.890–896. By contrast, Ares' Roman counterpart [[Mars (mythology)|Mars]] was born from [[Juno (mythology)|Juno]] alone, according to [[Ovid]] (''[[Fasti (Ovid)|Fasti]]'' 5.229–260).</ref> ในวรรณกรรมกรีก พระองค์มักเป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับ[[อะธีนา]] ผู้ทรงเป็นเทพเจ้าแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ<ref>[[Walter Burkert]], ''Greek Religion'' (Blackwell, 1985, 2004 reprint, originally published 1977 in German), pp. 141; William Hansen, ''Classical Mythology: A Guide to the Mythical World of the Greeks and Romans'' (Oxford University Press, 2005), p. 113.</ref>


ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส แม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม พระองค์เป็นพลังที่อันตราย "ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน"<ref name="Burkert, p. 169">Burkert, ''Greek Religion'', p. 169.</ref> ความกลัว ([[โฟบอส (เทพปกรณัม)|โฟบอส]]) และความสยองขวัญ ([[ไดมอส (เทพปกรณัม)|ไดมอส]]) พระโอรส และความแตกสามัคคี ([[Enyo|เอนีโอ]]) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึก<ref>Burkert, ''Greek Religion'', p.169.</ref> ใน''[[อีเลียด]]'' ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าที่ซูสเกลียดที่สุด<ref>''[[Iliad]]'' 5.890–891.</ref> สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร<ref>Hansen, ''Classical Mythology'', pp. 114–115.</ref> คุณค่าของพระองค์ในฐานะพระเจ้าแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะใน[[สงครามกรุงทรอย]] แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ ([[ไนกี (เทพปกรณัม)|ไนกี]]) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะ<ref>Burkert, ''Greek Religion'',p. 169.</ref>
ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส เนื่องจากเทพแอรีสเป็นสัญลักษณะของความพ่ายแพ้เช่นเดียวกับความสามารถในสงครามแม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม แต่เป็นพลังที่อันตราย "ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน"<ref name="Burkert, p. 169">Burkert, ''Greek Religion'', p. 169.</ref> ความกลัว ([[โฟบอส (เทพปกรณัม)|โฟบอส]]) และความสยองขวัญ ([[ไดมอส (เทพปกรณัม)|ไดมอส]]) พระโอรส และความแตกสามัคคี ([[Enyo|เอนีโอ]]) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึก<ref>Burkert, ''Greek Religion'', p.169.</ref> ใน''[[อีเลียด]]'' ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าที่ซูสเกลียดที่สุด<ref>''[[Iliad]]'' 5.890–891.</ref> สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร<ref>Hansen, ''Classical Mythology'', pp. 114–115.</ref> คุณค่าของพระองค์ในฐานะพระเจ้าแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะใน[[สงครามกรุงทรอย]] แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ ([[ไนกี (เทพปกรณัม)|ไนกี]]) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะ<ref>Burkert, ''Greek Religion'',p. 169.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:27, 20 กุมภาพันธ์ 2560

แอรีส
เทพเจ้าแห่งสงคราม
รูปปั้นแอรีส
ที่ประทับยอดเขาโอลิมปัส, เธรซ, มาซิโดเนีย, ธีปส์, สปาร์ตา และคาบสมุทรแมนิ
สัญลักษณ์หอก, หมวกเกราะ, สุนัข, รถม้า, หมูป่า, แร้ง
ข้อมูลส่วนบุคคล
บุตร - ธิดาเอะรอเทส (เอียรอสและแอนเทอรอส), โฟบอส, ไดมอส, Phlegyas, ฮาร์โมเนีย, and Adrestia
บิดา-มารดาซูสและฮีรา
พี่น้องอีริส, อะธีนา, อะพอลโล, อาร์ทิมิส, แอโฟรไดที, ไดอะไนซัส, ฮีบี, เฮอร์มีส, เฮราคลีส, เฮเลนแห่งทรอย, ฮิฟีสตัส, เพอร์ซิอัส, ไมนอส, มิวส์, แคริทีส, เอนีโอ และอิลิไธอา
เทียบเท่าในโรมันมาร์ส

แอรีส (อังกฤษ: Ares /ˈɛəriz/; กรีกโบราณ: Ἄρης [árɛːs] อาแรส) ทรงเป็นพระเจ้าแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งในสิบสองพระเจ้าโอลิมปัส และพระโอรสของซูสและฮีรา[1] ในวรรณกรรมกรีก พระองค์มักเป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับอะธีนา ผู้ทรงเป็นเทพเจ้าแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ[2]

ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส เนื่องจากเทพแอรีสเป็นสัญลักษณะของความพ่ายแพ้เช่นเดียวกับความสามารถในสงครามแม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม แต่เป็นพลังที่อันตราย "ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน"[3] ความกลัว (โฟบอส) และความสยองขวัญ (ไดมอส) พระโอรส และความแตกสามัคคี (เอนีโอ) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึก[4] ในอีเลียด ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าที่ซูสเกลียดที่สุด[5] สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร[6] คุณค่าของพระองค์ในฐานะพระเจ้าแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะในสงครามกรุงทรอย แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ (ไนกี) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะ[7]

อ้างอิง

  1. Hesiod, Theogony 921 (Loeb Classical Library numbering); Iliad, 5.890–896. By contrast, Ares' Roman counterpart Mars was born from Juno alone, according to Ovid (Fasti 5.229–260).
  2. Walter Burkert, Greek Religion (Blackwell, 1985, 2004 reprint, originally published 1977 in German), pp. 141; William Hansen, Classical Mythology: A Guide to the Mythical World of the Greeks and Romans (Oxford University Press, 2005), p. 113.
  3. Burkert, Greek Religion, p. 169.
  4. Burkert, Greek Religion, p.169.
  5. Iliad 5.890–891.
  6. Hansen, Classical Mythology, pp. 114–115.
  7. Burkert, Greek Religion,p. 169.

ดูเพิ่ม