ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นศูนย์สูตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6699933 สร้างโดย 115.87.121.203 (พูดคุย)
Srpbm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Equator}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Equator}}


{{พิกัดทางภูมิศาสตร์}}



[[หมวดหมู่:วิชาที่เกี่ยวกับการวัดรูปร่างและพื้นที่ผืนดิน]]
[[หมวดหมู่:วิชาที่เกี่ยวกับการวัดรูปร่างและพื้นที่ผืนดิน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:55, 4 กุมภาพันธ์ 2560

เส้นศูนย์สูตรบนแผนที่โลก

ในทางภูมิศาสตร์ เส้นศูนย์สูตร (อังกฤษ: Equator) คือ เส้นที่ลากผ่านศูนย์กลางวงกลมในแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก และตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก เป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านเส้นศูนย์กลางวงกลม แบ่งโลกออกเป็นสองซีกเท่า ๆ กัน ผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร มีระยะเวลาของกลางวันกับกลางคืนยาวนานเกือบเท่ากันตลอดทั้งปี[ต้องการอ้างอิง] และเห็นดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงของวันวิษุวัต[ต้องการอ้างอิง]

เส้นศูนย์สูตรของโลกมีความยาวประมาณ 40,075 กิโลเมตร ลากผ่าน 13 ประเทศ และเป็นหนึ่งในละติจูด 5 เส้นสำคัญของโลก เป็นละติจูดที่เรียกว่า "Great Circle" ที่ลากแบ่งครึ่งโลกเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่มีจุดศูนย์กลางและมีรัศมีเท่า ๆ กัน

เมื่อขยายเส้นศูนย์สูตรโลกเป็นระนาบศูนย์สูตร (Equatorial Plane) ออกไปตัดทรงกลมฟ้า เกิดเป็นวงกลมใหญ่ เรียกว่า เส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า (Celestial Equator)

แหล่งข้อมูลอื่น