ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
ในวิชา[[ฟิสิกส์]] '''รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า''' ({{lang-en|electromagnetic radiation}}) หมายถึงคลื่น (หรือควอนตัม[[โฟตอน]]) ของ[[สนามแม่เหล็กไฟฟ้า]]ที่แผ่ผ่านปริภูมิโดยพา[[พลังงานจากการแผ่รังสี]]แม่เหล็กไฟฟ้า
ในวิชา[[ฟิสิกส์]] '''รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า''' ({{lang-en|electromagnetic radiation}}) หมายถึงคลื่น (หรือควอนตัม[[โฟตอน]]) ของ[[สนามแม่เหล็กไฟฟ้า]]ที่แผ่ผ่านปริภูมิโดยพา[[พลังงานจากการแผ่รังสี]]แม่เหล็กไฟฟ้า


โดยคลาสสิก รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วย'''คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า'''ซึ่งเป็นการสั่นประสานของ[[สนามไฟฟ้า]]และ[[สนามแม่เหล็ก|แม่เหล็ก]]ซึ่งแผ่ผ่าน[[สุญญากาศ]]ด้วย[[ความเร็วแสง]] การสั่นองสนามทั้งสองนี้ตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางของการแผ่พลังงานและคลื่น ทำให้เกิด[[คลื่นตามขวาง]] [[แนวคลื่น]]ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปล่งจากแหล่งกำเนิดจุด (เช่น หลอดไฟ) เป็น[[ทรงกลม]] ตำแหน่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน[[สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า]]สามารถจำแนกลักษณะได้โดย[[ความถี่]]ของการสั่นหรือ[[ความยาวคลื่น]] สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้ามี[[คลื่นวิทยุ]] [[ไมโครเวฟ]] [[รังสีอินฟราเรด]] [[แสง|แสงที่มองเห็นได้]] [[รังสีอัลตราไวโอเลต]] [[รังสีเอกซ์]]และ[[รังสีแกมมา]]
โดยคลาสสิก รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วย'''คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า'''ซึ่งเป็นการสั่นประสานของ[[สนามไฟฟ้า]]และ[[สนามแม่เหล็ก|แม่เหล็ก]]ซึ่งแผ่ผ่าน[[สุญญากาศ]]ด้วย[[ความเร็วแสง]] การสั่นองสนามทั้งสองนี้ตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางของการแผ่พลังงานและคลื่น ทำให้เกิด[[คลื่นตามขวาง]] [[แนวคลื่น]]ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปล่งจากแหล่งกำเนิดจุด (เช่น หลอดไฟ) เป็น[[ทรงกลม]] ตำแหน่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน[[สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า]]สามารถจำแนกลักษณะได้โดย[[ความถี่]]ของการสั่นหรือ[[ความยาวคลื่น]] สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้ามี[[คลื่นวิทยุ]] [[ไมโครเวฟ]] [[รังสีอินฟราเรด]] [[แสง|แสงที่มองเห็นได้]] [[รังสีอัลตราไวโอเลต]] [[รังสีเอกซ์]]และ[[รังสีแกมมา]] โดยเรียงความถี่จากน้อยไปมากและความยาวคลื่นจากมากไปน้อย


คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดเมื่อ[[อนุภาคมีประจุ]]ถูก[[ความเร่ง|เร่ง]] แล้วคลื่นเหล่านี้จะสามารถมีอันตรกิริยากับอนุภาคมีประจุอื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพา[[พลังงาน]] [[โมเมนตัม]]และ[[โมเมนตัมเชิงมุม]]จากอนุภาคแหล่งกำเนิดและสามารถส่งผ่านคุณสมบัติเหล่านี้แก่สสารซึ่งไปทำอันตรกิริยาด้วย [[ควอนตัม]]ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรียก [[โฟตอน]] ซึ่งมี[[มวลนิ่ง]]เป็นศูนย์ แต่พลังงานหรือมวลรวม (โดยสัมพัทธ์) [[ความสมมูลมวล–พลังงาน|สมมูล]]ไม่เป็นศูนย์ ฉะนั้นจึงยังได้รับผลจาก[[ความโน้มถ่วง]] รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าสัมพันธ์กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเหล่านั้นซึ่งสามารถแผ่ตนเองได้โดยปราศจากอิทธิพลต่อเนื่องของประจุเคลื่อนที่ที่ผลิตมัน เพราะรังสีนั้นมีระยะห่างเพียงพอจากประจุเหล่านั้นแล้ว ฉะนั้น บางทีจึงเรียกรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าว่าสนามไกล ในภาษานี้สนามใกล้หมายถึงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใกล้ประจุและกระแสที่ผลิตมันโดยตรง โดยเจาะจงคือ ปรากฏการณ์การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและการเหนี่ยวนำ[[ไฟฟ้าสถิต]]
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดเมื่อ[[อนุภาคมีประจุ]]ถูก[[ความเร่ง|เร่ง]] แล้วคลื่นเหล่านี้จะสามารถมีอันตรกิริยากับอนุภาคมีประจุอื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพา[[พลังงาน]] [[โมเมนตัม]]และ[[โมเมนตัมเชิงมุม]]จากอนุภาคแหล่งกำเนิดและสามารถส่งผ่านคุณสมบัติเหล่านี้แก่สสารซึ่งไปทำอันตรกิริยาด้วย [[ควอนตัม]]ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรียก [[โฟตอน]] ซึ่งมี[[มวลนิ่ง]]เป็นศูนย์ แต่พลังงานหรือมวลรวม (โดยสัมพัทธ์) [[ความสมมูลมวล–พลังงาน|สมมูล]]ไม่เป็นศูนย์ ฉะนั้นจึงยังได้รับผลจาก[[ความโน้มถ่วง]] รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าสัมพันธ์กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเหล่านั้นซึ่งสามารถแผ่ตนเองได้โดยปราศจากอิทธิพลต่อเนื่องของประจุเคลื่อนที่ที่ผลิตมัน เพราะรังสีนั้นมีระยะห่างเพียงพอจากประจุเหล่านั้นแล้ว ฉะนั้น บางทีจึงเรียกรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าว่าสนามไกล ในภาษานี้สนามใกล้หมายถึงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใกล้ประจุและกระแสที่ผลิตมันโดยตรง โดยเจาะจงคือ ปรากฏการณ์การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและการเหนี่ยวนำ[[ไฟฟ้าสถิต]]

ในทฤษฎีควอนตัมแม่เหล็กไฟฟ้า รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยโฟตอน [[อนุภาคมูลฐาน]]ซึ่งทำให้เกิดอันตรกิริยาแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งสิ้น ฤทธิ์ควอนตัมทำให้เกิดแหล่งรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเพิ่ม เช่น การส่งผ่านอิเล็กตรอนไประดับพลังงานต่ำกว่าใน[[อะตอม]]และ[[การแผ่รังสีวัตถุดำ]] โฟตอนความถี่สูงขึ้นจะมีพลังงานมากขึ้น ความสัมพันธ์นี้เป็นไปตาม[[สมการของพลังค์]] {{nowrap begin}}''E'' = ''hν''{{nowrap end}} โดยที่ ''E'' คือ พลังงานต่อโปรตอน ''ν'' คือ ความถี่ของโฟตอน และ ''h'' คือ [[ค่าคงที่ของพลังค์]] ตัวอย่างเช่น โฟตอนรังสีแกมมาหนึ่งโฟตอน อาจพาพลังงาน ~100,000 เท่าของโฟตอนหนึ่งโฟตอนของแสงที่มองเห็นได้

[[หมวดหมู่:รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า| ]]
[[หมวดหมู่:รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า| ]]
[[หมวดหมู่:รังสี]]
[[หมวดหมู่:รังสี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:56, 29 มกราคม 2560

ในวิชาฟิสิกส์ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (อังกฤษ: electromagnetic radiation) หมายถึงคลื่น (หรือควอนตัมโฟตอน) ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ผ่านปริภูมิโดยพาพลังงานจากการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า

โดยคลาสสิก รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเป็นการสั่นประสานของสนามไฟฟ้าและแม่เหล็กซึ่งแผ่ผ่านสุญญากาศด้วยความเร็วแสง การสั่นองสนามทั้งสองนี้ตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางของการแผ่พลังงานและคลื่น ทำให้เกิดคลื่นตามขวาง แนวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปล่งจากแหล่งกำเนิดจุด (เช่น หลอดไฟ) เป็นทรงกลม ตำแหน่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถจำแนกลักษณะได้โดยความถี่ของการสั่นหรือความยาวคลื่น สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้ามีคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์และรังสีแกมมา โดยเรียงความถี่จากน้อยไปมากและความยาวคลื่นจากมากไปน้อย

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดเมื่ออนุภาคมีประจุถูกเร่ง แล้วคลื่นเหล่านี้จะสามารถมีอันตรกิริยากับอนุภาคมีประจุอื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพาพลังงาน โมเมนตัมและโมเมนตัมเชิงมุมจากอนุภาคแหล่งกำเนิดและสามารถส่งผ่านคุณสมบัติเหล่านี้แก่สสารซึ่งไปทำอันตรกิริยาด้วย ควอนตัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรียก โฟตอน ซึ่งมีมวลนิ่งเป็นศูนย์ แต่พลังงานหรือมวลรวม (โดยสัมพัทธ์) สมมูลไม่เป็นศูนย์ ฉะนั้นจึงยังได้รับผลจากความโน้มถ่วง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าสัมพันธ์กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเหล่านั้นซึ่งสามารถแผ่ตนเองได้โดยปราศจากอิทธิพลต่อเนื่องของประจุเคลื่อนที่ที่ผลิตมัน เพราะรังสีนั้นมีระยะห่างเพียงพอจากประจุเหล่านั้นแล้ว ฉะนั้น บางทีจึงเรียกรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าว่าสนามไกล ในภาษานี้สนามใกล้หมายถึงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใกล้ประจุและกระแสที่ผลิตมันโดยตรง โดยเจาะจงคือ ปรากฏการณ์การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต

ในทฤษฎีควอนตัมแม่เหล็กไฟฟ้า รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยโฟตอน อนุภาคมูลฐานซึ่งทำให้เกิดอันตรกิริยาแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งสิ้น ฤทธิ์ควอนตัมทำให้เกิดแหล่งรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าเพิ่ม เช่น การส่งผ่านอิเล็กตรอนไประดับพลังงานต่ำกว่าในอะตอมและการแผ่รังสีวัตถุดำ โฟตอนความถี่สูงขึ้นจะมีพลังงานมากขึ้น ความสัมพันธ์นี้เป็นไปตามสมการของพลังค์ E = โดยที่ E คือ พลังงานต่อโปรตอน ν คือ ความถี่ของโฟตอน และ h คือ ค่าคงที่ของพลังค์ ตัวอย่างเช่น โฟตอนรังสีแกมมาหนึ่งโฟตอน อาจพาพลังงาน ~100,000 เท่าของโฟตอนหนึ่งโฟตอนของแสงที่มองเห็นได้