ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพเหมือน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
ย้อนการแก้ไขที่ 4728194 สร้างโดย Nullzerobot (พูดคุย)
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
งานภาพเหมือนที่มีชื่อที่สุดที่เป็นที่รู้จักันทั่วโลกคือภาพ “[[โมนาลิซา]]” โดย [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]]เป็นภาพสตรีที่ไม่ทราบชื่อที่มีรอยยิ้มปริศนา ภาพเหมือนที่เก่าที่สุดเท่าที่ทราบพบเมื่อปี ค.ศ. 2006 โดย เจอราร์ด โจดีย์ นักโทษท้องถิ่นในถ้ำวิลโอเนอร์ไม่ใกลจากอังโจเลม ที่เชื่อว่ามีอายุถึง 27,000 ปี<ref>[http://www.timesonline.co.uk/tol/news/world/europe/article671755.ece “ภาพเหมือนที่เก่าที่สุด” บทความจาก timesonline (5 มิถุนายน 2006)]</ref>
งานภาพเหมือนที่มีชื่อที่สุดที่เป็นที่รู้จักันทั่วโลกคือภาพ “[[โมนาลิซา]]” โดย [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]]เป็นภาพสตรีที่ไม่ทราบชื่อที่มีรอยยิ้มปริศนา ภาพเหมือนที่เก่าที่สุดเท่าที่ทราบพบเมื่อปี ค.ศ. 2006 โดย เจอราร์ด โจดีย์ นักโทษท้องถิ่นในถ้ำวิลโอเนอร์ไม่ใกลจากอังโจเลม ที่เชื่อว่ามีอายุถึง 27,000 ปี<ref>[http://www.timesonline.co.uk/tol/news/world/europe/article671755.ece “ภาพเหมือนที่เก่าที่สุด” บทความจาก timesonline (5 มิถุนายน 2006)]</ref>


== [http://www.xn--l3ckohg6a5ar3bc2dzf.com/ ภาพวาดคนเหมือน]ตนเอง ==
== ภาพวาดคนเหมือนตนเอง ==
เมื่อจิตรกรวาดภาพเหมือนของตนเองภาพนี้ก็จะเรียกว่า “ภาพเหมือนตนเอง” (self-portrait) ซึ่งเป็นที่นิยมกันในสมัยปลายยุคกลาง การสร้างภาพเหมือนตนเองอาจจะเริ่มมาตั้งแต่สมัย [[อียิปต์โบราณก่อนยุคราชวงศ์|อียิปต์โบราณ]]เมื่อประติมากรแบ็คของ[[ฟาโรห์อเคนาเตน]]แกะรูปของตนเองและภรรยาเมื่อ หรืออาจจะเริ่มมาตั้งแต่สมัยที่มนุษย์ยังอยู่ในถ้ำก็ได้ตามหลักฐานที่ปัจจุบันสูญหายไป
เมื่อจิตรกรวาดภาพเหมือนของตนเองภาพนี้ก็จะเรียกว่า “ภาพเหมือนตนเอง” (self-portrait) ซึ่งเป็นที่นิยมกันในสมัยปลายยุคกลาง การสร้างภาพเหมือนตนเองอาจจะเริ่มมาตั้งแต่สมัย [[อียิปต์โบราณก่อนยุคราชวงศ์|อียิปต์โบราณ]]เมื่อประติมากรแบ็คของ[[ฟาโรห์อเคนาเตน]]แกะรูปของตนเองและภรรยาเมื่อ หรืออาจจะเริ่มมาตั้งแต่สมัยที่มนุษย์ยังอยู่ในถ้ำก็ได้ตามหลักฐานที่ปัจจุบันสูญหายไป


บรรทัด 72: บรรทัด 72:
[[หมวดหมู่:ประติมากรรม|ภาพเหมือน]]
[[หมวดหมู่:ประติมากรรม|ภาพเหมือน]]
[[หมวดหมู่:ประเภทของศิลปะ]]
[[หมวดหมู่:ประเภทของศิลปะ]]

[[ar:بورتريه]]
[[be:Партрэт]]
[[be-x-old:Партрэт]]
[[bg:Портрет]]
[[br:Poltred]]
[[bs:Portret]]
[[ca:Retrat]]
[[cs:Portrét]]
[[da:Portræt (billede)]]
[[de:Porträt]]
[[el:Προσωπογραφία]]
[[en:Portrait]]
[[eo:Portreto]]
[[es:Retrato]]
[[et:Portree]]
[[fa:چهره‌نگاری]]
[[fi:Muotokuva]]
[[fr:Portrait]]
[[gan:畫像]]
[[gl:Retrato]]
[[he:דיוקן]]
[[hi:चित्र (पोर्ट्रेट)]]
[[hr:Portret]]
[[hu:Arckép]]
[[hy:Դիմապատկեր]]
[[id:Potret]]
[[io:Portreto]]
[[is:Andlitsmynd]]
[[it:Ritratto]]
[[ja:肖像]]
[[ka:პორტრეტი]]
[[kk:Портрет]]
[[ko:초상]]
[[lb:Portrait]]
[[lt:Portretas]]
[[lv:Portrets]]
[[nl:Portret]]
[[pl:Portret]]
[[pt:Retrato]]
[[ro:Portret]]
[[ru:Портрет]]
[[scn:Ritrattu]]
[[sh:Portret]]
[[simple:Portrait]]
[[sk:Portrét]]
[[sq:Portreti]]
[[sr:Портрет]]
[[sv:Porträtt]]
[[tr:Portre]]
[[uk:Портрет]]
[[zh:肖像]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:55, 17 มกราคม 2560

ภาพเหมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย
“ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค
ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี

ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง

ที่มา

ภาพเหมือน ในสมัยแรกที่พบเป็นภาพเขียนสำหรับปิดศพที่รู้จักกันว่า “เฟยุมมัมมี่” (Fayum mummy) ในประเทศอียิปต์ที่ถูกรักษาไว้เป็นอย่างดีเพราะความแห้งของอากาศในทะเลทราย “เฟยุมมัมมี่” เป็นภาพเขียนจากสมัยจักรวรรดิโรมันอย่างเดียวที่พบนอกไปจากจิตรกรรมฝาผนัง

ในสมัยโรมันศิลปะภาพเหมือนนิยมกันในการทำประติมากรรมซึ่งผู้เป็นแบบต้องการให้เหมือนตนเองจริงๆ ถึงแม้ว่าบางครั้งผู้เป็นแบบอาจจะมีรูปร่างลักษณะที่ไม่เรียกว่าสวย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 4 ภาพเหมือนเริ่มละทิ้งความเป็นจริงมาหาความเป็นจินตนิยมเป็นภาพเหมือนที่ผู้เป็นแบบต้องการให้จิตรกรสร้างภาพที่ “ควรจะ” มีหน้าตาอย่างที่ต้องการ ซึ่งจะเห็นได้จากประติมากรรมเหมือนของจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1[1] และจักรพรรดิทีโอโดเซียสที่ 1[2] ในยุโรปการเขียนภาพเหมือนแบบเหมือนจริงมานิยมกันอีกครั้งในสมัยปลายยุคกลาง ในบริเวณเบอร์กันดีในประเทศฝรั่งเศส

งานภาพเหมือนที่มีชื่อที่สุดที่เป็นที่รู้จักันทั่วโลกคือภาพ “โมนาลิซา” โดย เลโอนาร์โด ดา วินชีเป็นภาพสตรีที่ไม่ทราบชื่อที่มีรอยยิ้มปริศนา ภาพเหมือนที่เก่าที่สุดเท่าที่ทราบพบเมื่อปี ค.ศ. 2006 โดย เจอราร์ด โจดีย์ นักโทษท้องถิ่นในถ้ำวิลโอเนอร์ไม่ใกลจากอังโจเลม ที่เชื่อว่ามีอายุถึง 27,000 ปี[1]

ภาพวาดคนเหมือนตนเอง

เมื่อจิตรกรวาดภาพเหมือนของตนเองภาพนี้ก็จะเรียกว่า “ภาพเหมือนตนเอง” (self-portrait) ซึ่งเป็นที่นิยมกันในสมัยปลายยุคกลาง การสร้างภาพเหมือนตนเองอาจจะเริ่มมาตั้งแต่สมัย อียิปต์โบราณเมื่อประติมากรแบ็คของฟาโรห์อเคนาเตนแกะรูปของตนเองและภรรยาเมื่อ หรืออาจจะเริ่มมาตั้งแต่สมัยที่มนุษย์ยังอยู่ในถ้ำก็ได้ตามหลักฐานที่ปัจจุบันสูญหายไป

ภาพถ่ายภาพเหมือน

“ภาพถ่ายภาพเหมือน” เป็นที่นิยมกันทั่วไปในโลก บางครั้งลูกค้าก็จะต้องการภาพเหมือนของตนเองและครอบครัว หรือภาพเหมือนในโอกาสพิเศษเช่นงานแต่งงานหรืองานจบปริญญา ภาพถ่ายภาพเหมือนเริ่มพร้อมกับการเริ่มต้นการถ่ายภาพ ความต้องการเป็นที่นิยมกันมากเพราะผู้ต้องการสามารถเป็นเจ้าของภาพเหมือนได้โดยไม่ต้องใช้เงินเป็นจำนวนมาก กิจการร้านถ่ายรูปก็รุ่งเรืองตามไปด้วยบางร้านถ่ายถึง 500 เพลทต่อวัน ลักษณะการถ่ายภาพเหมือนสมัยต้นๆ นี้ต้องเปิดหน้ากล้องถึง 30 วินาทีจึงจะถ่ายได้ และจะใช้ลักษณะคล้าย “วาด” (painterly) ผู้เป็นแบบมักจะนั่งหน้าฉากเกลี้ยงๆ แสงเป็นแสงอ่อนเหนือแบบและแสงสะท้อนจากกระจก

เมื่อวิธีการถ่ายภาพวิวัฒนาการขึ้นช่างภาพก็ออกถ่ายภาพเหมือนนอกสถานที่เช่นในสนามรบ หรือ สถานที่ไกลจากผู้คน เช่นงานของวิลเลียม ชู (William Shew) โรเจอร์ เฟ็นตัน (Roger Fenton) และ แม็ทธิว เบรดี (Mathew Brady) ซึ่งเป็นผู้สร้างทฤษฏีการถ่ายภาพเหมือน

การเมือง

ในทางการเมืองภาพเหมือนของผู้นำมักจะใช้เป็นสัญลักษณ์ของรัฐ ในหลายประเทศจะมีประเพณีในการแขวนภาพเหมือนของผู้นำในสถานที่ราชการ การใช้ภาพเขียนกันเป็นอย่างมากอาจจะเป็นสิ่งที่เรียกว่าลัทธินิยมบุคคล

วรรณกรรม

ในทางวรรณกรรม คำว่า “ภาพเหมือน” หมายถึงคำบรรยายหรือคำวิจัยของคนหรือสิ่งของ คำบรรยายของบุคคลมักจะเป็นคำบรรยายที่บอกลักษณะที่แท้จริงที่เกินไปกว่าที่เห็นอย่างผิวเผิน เช่นงานเขียนของนักประพันธ์อเมริกันแพทริเชี คอร์นวอล ในหนังสือ “ภาพเหมือนฆาตกร” (Portrait of a Killer) ซึ่งบรรยายบุคลิก, เบื้องหลัง, และสาเหตุที่ แจ็คเดอะริปเปอร์เป็นฆาตกรซึ่งรวมทั้งเรื่องที่สื่มวลชนเขียนและการสืบสวนของตำรวจ

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ภาพเหมือน วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ภาพเหมือนตนเอง

สมุดภาพ