ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาละ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
'''สาละ''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Shorea robusta}} เป็นพืชในวงศ์ [[Dipterocarpaceae]] เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้น[[สาละลังกา]]<ref>จารุพันธ์ ทองแถม. พืชมหัศจรรย์โลกวิกฤติ. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555</ref> เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง
'''สาละ''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Shorea robusta}} เป็นพืชในวงศ์ [[Dipterocarpaceae]] เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้น[[สาละลังกา]]<ref>จารุพันธ์ ทองแถม. พืชมหัศจรรย์โลกวิกฤติ. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555</ref> เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง


[[ไฟล์:Birth of Buddha at Lumbini.jpg|thumb|left|พระนางสิริมหามายาขณะประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ]]
[[ไฟล์:Sal (Shorea robusta)- new leaves with flower buds at Jayanti, Duars W Picture 120.jpg|thumb|left| ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย]]
[[ไฟล์:Sal (Shorea robusta)- new leaves with flower buds at Jayanti, Duars W Picture 120.jpg|thumb|left| ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย]]
==ความสำคัญทางศาสนา==

ใน[[ศาสนาฮินดู]] ถือว่าสาละเป็นไม้โปรดของ[[พระวิษณุ]] <ref>[http://www.salagram.net/Sacred-trees.html Sacred trees]</ref> คำว่าสาละมาจาก[[ภาษาสันสกฤต]] (शाल, śāla, ตรงตัว "บ้าน") ชื่ออื่นๆในภาษาสันสกฤตได้แก่ อัศวกรรณ (ashvakarna) ชิรปรรณ (chiraparna) และ สรรชะ (sarja) ต้นสาละมักจะสับสนกับต้นอโศก (Saraca indica) ในวรรรณคดีอินเดียโบราณ [[ศาสนาเชน]]เชื่อว่า[[มหาวีระ]]องค์ที่ 24 ติรถันกะระ จะตรัสรู้ใต้ต้นสาละ

===ศาสนาพุทธ===
[[ไฟล์:Birth of Buddha at Lumbini.jpg|thumb|left|พระนางสิริมหามายาขณะประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ]]
ชาวพุทธเชื่อว่า[[พระนางสิริมหามายา]]ประสูติ[[พระโคตมพุทธเจ้า]]ใต้ต้นสาละในสวนลุมพินีทางตอนใต้ของ[[เนปาล]]ปัจจุบันระหว่างเดินทางกลับไปยังกรุงเทวทหะ <ref>{{cite book|ref=harv|editor1-last=Buswell|editor1-first=Robert Jr|editor2-last=Lopez|editor2-first=Donald S. Jr.|editor1-link=Robert Buswell Jr.|editor2-link=Donald S. Lopez, Jr.|title=Princeton Dictionary of Buddhism.|date=2013|publisher=Princeton University Press|location=Princeton, NJ|isbn=9780691157863|page=724}}</ref>และพระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานใต้ต้นสาละคู่<ref>{{cite web|title=Maha-parinibbana Sutta: The Great Discourse on the Total Unbinding" (DN 16), translated from the Pali by Thanissaro Bhikkhu| language=English| url=http://www.accesstoinsight.org/tipitaka/dn/dn.16.5-6.than.html| accessdate = 2015-06-29}}</ref> นอกจากนั้นยังเชื่อว่ามีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ใต้ต้นสาละ 2 องค์ คือ[[พระโกญทัญญพุทธเจ้า]]และ[[พระเวสสภูพุทธเจ้า]]

ในศาสนาพุทธ การบานในช่วงสั้นๆของต้นสาละเป็นสัญลักษณ์ของการไร้ความสามารถและความรุ่งโรจน์ที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว ศาสนาพุทธในญี่ปุ่น สิ่งนี้เป็นที่รู้จักกันดีในช่วงเริ่มต้นของ ''[[เรื่องเล่าของเฮอิเกะ]]'' – เรื่องเล่าของความตกต่ำและรุ่งเรืองของตระกูลที่เคยมีอำนาจ {{Nihongo|"สีของดอกสาละแสดงความจริงว่าความรุ่งเรืองจะต้องตกต่ำลง"|沙羅雙樹の花の色、盛者必衰の理を顯す|Jōshahissui no kotowari wo arawasu}},<ref>Chapter 1.1, Helen Craig McCullough's translation</ref>

ใน[[ศรีลังกา]] ชาวพุทธมักเข้าใจว่าต้น''[[Couroupita guianensis]]'' เป็นต้นสาละที่พระพุทธเจ้าทรงประสูติ <ref>http://www.sundaytimes.lk/070916/News/news00026.html</ref>

==การใช้ประโยชน์==

ลาละเป็นไม้เนื้อแข็งที่สำคัญในอินเดีย เมื่อตัดครั้งแรกสีอ่อนและสีจะเข้มขึ้นเมื่อสัมผัสกับอากาศ เนื้อไม้มีเรซินและทนทาน เหมาะกับการทำกรอบประตูและหน้าต่าง ใบแห้งของสาละใช้ทำจานใบไม้และชามใบไม้ทางเหนือและตะวันออกของอินเดีย ซึ่งหลังจากใช้งานจะกลายเป็นอาหารของแพะ ใบสดใช้กินกับ[[หมาก]] และของว่าง ในเนปาล ใช้ใบไปทำเป็นจานและชามเช่นกัน


เรซินของสาละใช้เป็นยาฝาดตามตำราอายุรเวท<ref>[http://chestofbooks.com/health/materia-medica-drugs/Hindus-Materia.../Nat--Dipterocarpeae-Shorea-Robusta-Sans.html Sala, Asvakarna]</ref> ใช้เป็น[[ธูป]]ในงานฉลองของศาสนาฮินดู เมล็ดและผลของสาละใช้เป็นแหล่งของน้ำมันตะเกียงและน้ำมันมังสวิรัตน์

==รวมภาพ==
==รวมภาพ==
<gallery>
<gallery>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:24, 9 มกราคม 2560

สาละ
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Malvales
วงศ์: Dipterocarpaceae
สกุล: Shorea
สปีชีส์: S.  robusta
ชื่อทวินาม
Shorea robusta
Roth
ชื่อพ้อง

Vatica robusta

สาละ ชื่อวิทยาศาสตร์: Shorea robusta เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา[1] เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง

ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย

ความสำคัญทางศาสนา

ในศาสนาฮินดู ถือว่าสาละเป็นไม้โปรดของพระวิษณุ [2] คำว่าสาละมาจากภาษาสันสกฤต (शाल, śāla, ตรงตัว "บ้าน") ชื่ออื่นๆในภาษาสันสกฤตได้แก่ อัศวกรรณ (ashvakarna) ชิรปรรณ (chiraparna) และ สรรชะ (sarja) ต้นสาละมักจะสับสนกับต้นอโศก (Saraca indica) ในวรรรณคดีอินเดียโบราณ ศาสนาเชนเชื่อว่ามหาวีระองค์ที่ 24 ติรถันกะระ จะตรัสรู้ใต้ต้นสาละ

ศาสนาพุทธ

พระนางสิริมหามายาขณะประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ

ชาวพุทธเชื่อว่าพระนางสิริมหามายาประสูติพระโคตมพุทธเจ้าใต้ต้นสาละในสวนลุมพินีทางตอนใต้ของเนปาลปัจจุบันระหว่างเดินทางกลับไปยังกรุงเทวทหะ [3]และพระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานใต้ต้นสาละคู่[4] นอกจากนั้นยังเชื่อว่ามีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ใต้ต้นสาละ 2 องค์ คือพระโกญทัญญพุทธเจ้าและพระเวสสภูพุทธเจ้า

ในศาสนาพุทธ การบานในช่วงสั้นๆของต้นสาละเป็นสัญลักษณ์ของการไร้ความสามารถและความรุ่งโรจน์ที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว ศาสนาพุทธในญี่ปุ่น สิ่งนี้เป็นที่รู้จักกันดีในช่วงเริ่มต้นของ เรื่องเล่าของเฮอิเกะ – เรื่องเล่าของความตกต่ำและรุ่งเรืองของตระกูลที่เคยมีอำนาจ ญี่ปุ่น: "สีของดอกสาละแสดงความจริงว่าความรุ่งเรืองจะต้องตกต่ำลง"โรมาจิ沙羅雙樹の花の色、盛者必衰の理を顯すทับศัพท์: Jōshahissui no kotowari wo arawasu,[5]

ในศรีลังกา ชาวพุทธมักเข้าใจว่าต้นCouroupita guianensis เป็นต้นสาละที่พระพุทธเจ้าทรงประสูติ [6]

การใช้ประโยชน์

ลาละเป็นไม้เนื้อแข็งที่สำคัญในอินเดีย เมื่อตัดครั้งแรกสีอ่อนและสีจะเข้มขึ้นเมื่อสัมผัสกับอากาศ เนื้อไม้มีเรซินและทนทาน เหมาะกับการทำกรอบประตูและหน้าต่าง ใบแห้งของสาละใช้ทำจานใบไม้และชามใบไม้ทางเหนือและตะวันออกของอินเดีย ซึ่งหลังจากใช้งานจะกลายเป็นอาหารของแพะ ใบสดใช้กินกับหมาก และของว่าง ในเนปาล ใช้ใบไปทำเป็นจานและชามเช่นกัน


เรซินของสาละใช้เป็นยาฝาดตามตำราอายุรเวท[7] ใช้เป็นธูปในงานฉลองของศาสนาฮินดู เมล็ดและผลของสาละใช้เป็นแหล่งของน้ำมันตะเกียงและน้ำมันมังสวิรัตน์

รวมภาพ

อ้างอิง

  1. จารุพันธ์ ทองแถม. พืชมหัศจรรย์โลกวิกฤติ. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555
  2. Sacred trees
  3. Buswell, Robert Jr; Lopez, Donald S. Jr., บ.ก. (2013). Princeton Dictionary of Buddhism. Princeton, NJ: Princeton University Press. p. 724. ISBN 9780691157863. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  4. "Maha-parinibbana Sutta: The Great Discourse on the Total Unbinding" (DN 16), translated from the Pali by Thanissaro Bhikkhu" (ภาษาEnglish). สืบค้นเมื่อ 2015-06-29.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  5. Chapter 1.1, Helen Craig McCullough's translation
  6. http://www.sundaytimes.lk/070916/News/news00026.html
  7. Sala, Asvakarna

แหล่งข้อมูลอื่น