ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเพิ่มจากภาษาอังกฤษ
Vee (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากภาษาอังกฤษ
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันมีรากฐานมาจาก[[แคลคูลัสแลมบ์ดา]]ซึ่งเป็น[[ระบบรูปนัย]]ที่พัฒนาในคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อค้นหาความจริงเกี่ยวกับ[[ความคำนวณได้]] [[Entscheidungsproblem]] นิยามของฟังก์ชัน การประยุกต์ฟังก์ชัน และ[[การเวียนเกิด|การเรียกซ้ำ]] ภาษาเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันหลายภาษาสามารถมองว่าเป็นการใส่รายละเอียดเพิ่มจากแคลคูลัสแลมบ์ดา กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศที่เป็นที่รู้จักอื่น ๆ ''[[การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ]]'' มีพื้นฐานอยู่บน[[ความสัมพันธ์เชิงตรรกะ]]<ref name="hudak1989">{{cite journal | last = Hudak | first = Paul | authorlink = Paul Hudak | title = Conception, evolution, and application of functional programming languages | journal = [[Association for Computing Machinery|ACM]] Computing Surveys|volume=21|issue=3 | pages = 359–411 |date=September 1989 | url = http://www.dbnet.ece.ntua.gr/~adamo/languages/books/p359-hudak.pdf|format=PDF|doi=10.1145/72551.72554 }}</ref>
การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันมีรากฐานมาจาก[[แคลคูลัสแลมบ์ดา]]ซึ่งเป็น[[ระบบรูปนัย]]ที่พัฒนาในคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อค้นหาความจริงเกี่ยวกับ[[ความคำนวณได้]] [[Entscheidungsproblem]] นิยามของฟังก์ชัน การประยุกต์ฟังก์ชัน และ[[การเวียนเกิด|การเรียกซ้ำ]] ภาษาเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันหลายภาษาสามารถมองว่าเป็นการใส่รายละเอียดเพิ่มจากแคลคูลัสแลมบ์ดา กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศที่เป็นที่รู้จักอื่น ๆ ''[[การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ]]'' มีพื้นฐานอยู่บน[[ความสัมพันธ์เชิงตรรกะ]]<ref name="hudak1989">{{cite journal | last = Hudak | first = Paul | authorlink = Paul Hudak | title = Conception, evolution, and application of functional programming languages | journal = [[Association for Computing Machinery|ACM]] Computing Surveys|volume=21|issue=3 | pages = 359–411 |date=September 1989 | url = http://www.dbnet.ece.ntua.gr/~adamo/languages/books/p359-hudak.pdf|format=PDF|doi=10.1145/72551.72554 }}</ref>

ในกลับกัน[[การเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่ง]]เปลี่ยนสถานะด้วยคำสั่งในภาษาต้นทาง ตัวอย่างที่ง่ายที่สุดคือการกำหนดค่า [[การเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่ง]]ไม่มีฟังก์ชันในความหมายแบบคณิตศาสตร์แต่มีในความหมายแบบ[[ซับรูทีน]] ซึ่งมี[[ผลข้างเคียง (วิทยาการคอมพิวเตอร์)|ผลข้างเคียง]]ที่อาจะเปลี่ยนค่าของสถานะของโปรแกรมได้ ฟังก์ชันที่ไม่คืนค่าจึงสมเหตุสมผลเพราะขาด[[ความโปร่งใสในการอ้างอิง]] ได้แก่นิพจน์เดียวกันทางภาษาสามารถให้ผลลัพธ์ที่มีค่าต่างกันได้ในเวลาที่ต่างกันขึ้นกับสถานะของโปรแกรมที่กำลังกระทำการ<ref name="hudak1989"/>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:30, 1 มกราคม 2560

ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันเป็นกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมที่รูปแบบการสร้างโครงสร้างและส่วนประกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งปฏิบัติต่อการคำนวณว่าเป็นการประเมินผลฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์และหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงสถานะและข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงได้ โดยเป็นกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศซึ่งหมายความว่าการเขียนโปรแกรมทำได้โดยนิพจน์[1]หรือการประกาศ[2]แทนข้อความสั่ง ในโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน ค่าผลลัพธ์ของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับ[ อาร์กิวเมนต์]ที่นำเข้าสู่ฟังก์ชันเท่านั้น ดังนั้นการเรียกฟังก์ชัน f สองครั้งด้วยค่าอาร์กิวเมนต์ x เดียวกันจะให้ค่าผลลัพธ์ f(x) เท่ากันทุกครั้ง การกำจัดผลข้างเคียง ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสถานะที่ไม่ขึ้นกับสิ่งที่นำเข้าฟังก์ชัน สามารถทำให้ง่ายขึ้นที่จะทำความเข้าใจและพยากรณ์พฤฒิกรรมของโปรแกรมซึ่งเป็นหนึ่งในแรงจูงใจของการพัฒนาของการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน

การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันมีรากฐานมาจากแคลคูลัสแลมบ์ดาซึ่งเป็นระบบรูปนัยที่พัฒนาในคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อค้นหาความจริงเกี่ยวกับความคำนวณได้ Entscheidungsproblem นิยามของฟังก์ชัน การประยุกต์ฟังก์ชัน และการเรียกซ้ำ ภาษาเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันหลายภาษาสามารถมองว่าเป็นการใส่รายละเอียดเพิ่มจากแคลคูลัสแลมบ์ดา กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศที่เป็นที่รู้จักอื่น ๆ การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ มีพื้นฐานอยู่บนความสัมพันธ์เชิงตรรกะ[3]

ในกลับกันการเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่งเปลี่ยนสถานะด้วยคำสั่งในภาษาต้นทาง ตัวอย่างที่ง่ายที่สุดคือการกำหนดค่า การเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่งไม่มีฟังก์ชันในความหมายแบบคณิตศาสตร์แต่มีในความหมายแบบซับรูทีน ซึ่งมีผลข้างเคียงที่อาจะเปลี่ยนค่าของสถานะของโปรแกรมได้ ฟังก์ชันที่ไม่คืนค่าจึงสมเหตุสมผลเพราะขาดความโปร่งใสในการอ้างอิง ได้แก่นิพจน์เดียวกันทางภาษาสามารถให้ผลลัพธ์ที่มีค่าต่างกันได้ในเวลาที่ต่างกันขึ้นกับสถานะของโปรแกรมที่กำลังกระทำการ[3]

อ้างอิง

  1. "Declaration vs. expression style - HaskellWiki".
  2. "Declaration vs. expression style - HaskellWiki".
  3. 3.0 3.1 Hudak, Paul (September 1989). "Conception, evolution, and application of functional programming languages" (PDF). ACM Computing Surveys. 21 (3): 359–411. doi:10.1145/72551.72554.