ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แปซิฟิกใต้ในอาณัติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
|year_end = 1947
|year_end = 1947
|currency = [[เยน]], [[ปอนด์โอเชียเนีย]]
|currency = [[เยน]], [[ปอนด์โอเชียเนีย]]
|today = {{flag|ปาเลา}}<br>{{flag|หมู่เกาะมาร์แชลล์}}<br>{{flag|สหพันธรัฐไมโครนีเซีย}}<br>{{flag|หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา}}
|today = {{flag|ปาเลา}}<br>{{flag|หมู่เกาะมาร์แชลล์}}<br>{{flag|ไมโครนีเซีย}}<br>{{flag|หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา}}
}}
}}
'''แปซิฟิกใต้ในอาณัติ''' ({{lang-en|South Pacific Mandate}}) เป็นดินแดนภายใต้การดูแลของ[[สันนิบาตชาติ]] ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุม 3 ประเทศ 1 ดินแดน คือ [[สาธารณรัฐปาเลา]] [[สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์]] [[สหพันธรัฐไมโครนีเซีย]]และ[[หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา|ดินแดนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา]] ซึ่งเป็นดินแดนของ[[สหรัฐอเมริกา]]ในปัจจุบัน แปซิฟิกใต้ในอาณัติเป็นชื่อทางการของ[[อาณานิคม]][[หมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก]]ตอนกลางเหนือเส้นศูนย์สูตร ซึ่งสันนิบาตชาติมอบหมู่เกาะใน[[ภูมิภาคไมโครนีเซีย]]อันเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคม[[เยอรมันนิวกินี]]ให้กับ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]หลังจากเหตุการณ์[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] สิ้นสุด<ref name="Russell">Fifield, Russell. 1946. Disposal of the Carolines, Marshalls, and Marianas at the Paris Peace
'''แปซิฟิกใต้ในอาณัติ''' ({{lang-en|South Pacific Mandate}}) เป็นดินแดนภายใต้การดูแลของ[[สันนิบาตชาติ]] ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุม 3 ประเทศ 1 ดินแดน คือ [[สาธารณรัฐปาเลา]] [[สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์]] [[สหพันธรัฐไมโครนีเซีย]]และ[[หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา|ดินแดนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา]] ซึ่งเป็นดินแดนของ[[สหรัฐอเมริกา]]ในปัจจุบัน แปซิฟิกใต้ในอาณัติเป็นชื่อทางการของ[[อาณานิคม]][[หมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก]]ตอนกลางเหนือเส้นศูนย์สูตร ซึ่งสันนิบาตชาติมอบหมู่เกาะใน[[ภูมิภาคไมโครนีเซีย]]อันเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคม[[เยอรมันนิวกินี]]ให้กับ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]หลังจากเหตุการณ์[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] สิ้นสุด<ref name="Russell">Fifield, Russell. 1946. Disposal of the Carolines, Marshalls, and Marianas at the Paris Peace

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:09, 1 มกราคม 2560

แปซิฟิกใต้ในอาณัติ

南洋群島
Nan'yō Guntō
1919–1947
ธงชาติแปซิฟิกใต้ในอาณัติ
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของแปซิฟิกใต้ในอาณัติ
ตราแผ่นดิน
ดินแดนอาณัติของสันนิบาติชาติในแปซิฟิก โดยหมายเลข 1 คือดินแดนแปซิฟิกใต้ในอาณัติ
ดินแดนอาณัติของสันนิบาติชาติในแปซิฟิก โดยหมายเลข 1 คือดินแดนแปซิฟิกใต้ในอาณัติ
สถานะดินแดนในอาณัติของจักรวรรดิญี่ปุ่น
เมืองหลวงคอรอร์
ภาษาทั่วไปญี่ปุ่น (official)
ออสโตรนีเซียน
จักรวรรดิ 
• 1919–1926
จักรพรรดิไทโช (โยะชิฮิโตะ)
• 1926–1947
จักรพรรดิโชวะ (ฮิโระฮิโตะ)
ข้าหลวง 
• 1919–1923 (คนแรก)
โทะขิโระ เทะสุกะ
• 1943–1946 (คนสุดท้าย)
โบะชิโระ โฮะซะกะยะ
ยุคประวัติศาสตร์จักรวรรดิญี่ปุ่น
28 มิถุนายน 1919
18 กรกฎาคม 1947
สกุลเงินเยน, ปอนด์โอเชียเนีย
ก่อนหน้า
ถัดไป
เยอรมันนิวกินี
แปซิฟิกใต้ในภาวะทรัสตี
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ปาเลา
 หมู่เกาะมาร์แชลล์
 ไมโครนีเชีย
 หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

แปซิฟิกใต้ในอาณัติ (อังกฤษ: South Pacific Mandate) เป็นดินแดนภายใต้การดูแลของสันนิบาตชาติ ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุม 3 ประเทศ 1 ดินแดน คือ สาธารณรัฐปาเลา สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ สหพันธรัฐไมโครนีเซียและดินแดนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งเป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน แปซิฟิกใต้ในอาณัติเป็นชื่อทางการของอาณานิคมหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางเหนือเส้นศูนย์สูตร ซึ่งสันนิบาตชาติมอบหมู่เกาะในภูมิภาคไมโครนีเซียอันเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมเยอรมันนิวกินีให้กับจักรวรรดิญี่ปุ่นหลังจากเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด[1]

ญี่ปุ่นเข้าปกครองแปซิฟิกใต้ในอาณัติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1919 – 1947 ซึ่งรู้จักกันในชื่อ "หมู่เกาะทะเลใต้ในการอาณัติของญี่ปุ่น" (อังกฤษ: Japanese mandate for the South Seas Islands) (日本委任統治領南洋群島, อักษรโรมัน: Nihon Inin Tōchi-ryō Nan'yō Guntō) โดยการเข้าปกครองของญี่ปุ่นนั้นได้สร้างความเปลี่ยนแปลงต่อแปซิฟิกใต้ในอาณัติหลายประการทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ยังพบกับการเข้าใช้ประโยชน์จากดินแดนแห่งนี้ในรูปแบบต่าง ๆ การเข้าปกครองดินแดนแห่งนี้ของจักรวรรดิญี่ปุ่นสิ้นสุดลงหลังจากจบสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยสหประชาชาติได้มอบหมายดินแดนบริเวณดังกล่าวให้สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ดูแลแทนในชื่อดินแดนแปซิฟิกใต้ในภาวะทรัสตี จนกระทั่งบางประเทศในภูมิภาคไมโครนีเซียได้รับเอกราช

อ้างอิง

  1. Fifield, Russell. 1946. Disposal of the Carolines, Marshalls, and Marianas at the Paris Peace Conference. The American Historical Review 51(3): 472 – 479.