ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศในเครือจักรภพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "อธิรัฐ" → "รัฐอธิราช" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "นิวฟาวด์แลนด์" → "นิวฟันด์แลนด์" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''รัฐอธิราช''' ({{lang-en|Dominion}}) เป็นรัฐกึ่งเอกราชซึ่งยอมรับ[[พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร]]เป็นประมุขแห่งรัฐ ถือว่ายังเป็นดินแดนใน[[จักรวรรดิบริเตน]] ประกอบด้วย แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, นิวฟาวด์แลนด์, แอฟริกาใต้, [[เสรีรัฐไอร์แลนด์]] และต่อมาภายหลังทศวรรษที่ 1940 ได้รวมถึง อินเดีย, ปากีสถาน, ซีลอน (ศรีลังกาในปัจจุบัน) รัฐอธิราชปรากฎอยู่จนถึงค.ศ. 1953 หลังจากนั้นรัฐอธิราชต่างๆได้แปรสภาพเป็น[[ราชอาณาจักรเครือจักรภพ]]และประเทศใน[[เครือจักรภพแห่งประชาชาติ]]
'''รัฐอธิราช''' ({{lang-en|Dominion}}) เป็นรัฐกึ่งเอกราชซึ่งยอมรับ[[พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร]]เป็นประมุขแห่งรัฐ ถือว่ายังเป็นดินแดนใน[[จักรวรรดิบริเตน]] ประกอบด้วย แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, นิวฟันด์แลนด์, แอฟริกาใต้, [[เสรีรัฐไอร์แลนด์]] และต่อมาภายหลังทศวรรษที่ 1940 ได้รวมถึง อินเดีย, ปากีสถาน, ซีลอน (ศรีลังกาในปัจจุบัน) รัฐอธิราชปรากฎอยู่จนถึงค.ศ. 1953 หลังจากนั้นรัฐอธิราชต่างๆได้แปรสภาพเป็น[[ราชอาณาจักรเครือจักรภพ]]และประเทศใน[[เครือจักรภพแห่งประชาชาติ]]


{| class="wikitable sortable"
{| class="wikitable sortable"
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| {{flagdeco|New Zealand}} '''[[รัฐอธิราชนิวซีแลนด์|นิวซีแลนด์]]'''|| 1907|| 1953 || เป็นทั้งราชอาณาจักรเครือจักรภพและสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติควบคู่กัน
| {{flagdeco|New Zealand}} '''[[รัฐอธิราชนิวซีแลนด์|นิวซีแลนด์]]'''|| 1907|| 1953 || เป็นทั้งราชอาณาจักรเครือจักรภพและสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติควบคู่กัน
|-
|-
| {{flagicon image|Dominion of Newfoundland Red Ensign.svg}} '''[[รัฐอธิราชนิวฟาวด์แลนด์|นิวฟาวด์แลนด์]]'''|| 1907|| 1949 || เป็นมณฑลหนึ่งของแคนาดา<ref>[http://www.solon.org/Constitutions/Canada/English/nfa.html]</ref>
| {{flagicon image|Dominion of Newfoundland Red Ensign.svg}} '''[[รัฐอธิราชนิวฟันด์แลนด์|นิวฟันด์แลนด์]]'''|| 1907|| 1949 || เป็นมณฑลหนึ่งของแคนาดา<ref>[http://www.solon.org/Constitutions/Canada/English/nfa.html]</ref>
|-
|-
| {{flagdeco|South Africa|1928}} '''[[สหภาพแอฟริกาใต้|แอฟริกาใต้]]'''|| 1910|| 1953 || เป็นราชอาณาจักรเครือจักรภพจนถึงเป็นสาธารณรัฐในปี 1961
| {{flagdeco|South Africa|1928}} '''[[สหภาพแอฟริกาใต้|แอฟริกาใต้]]'''|| 1910|| 1953 || เป็นราชอาณาจักรเครือจักรภพจนถึงเป็นสาธารณรัฐในปี 1961

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:23, 27 ธันวาคม 2559

รัฐอธิราช (อังกฤษ: Dominion) เป็นรัฐกึ่งเอกราชซึ่งยอมรับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐ ถือว่ายังเป็นดินแดนในจักรวรรดิบริเตน ประกอบด้วย แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, นิวฟันด์แลนด์, แอฟริกาใต้, เสรีรัฐไอร์แลนด์ และต่อมาภายหลังทศวรรษที่ 1940 ได้รวมถึง อินเดีย, ปากีสถาน, ซีลอน (ศรีลังกาในปัจจุบัน) รัฐอธิราชปรากฎอยู่จนถึงค.ศ. 1953 หลังจากนั้นรัฐอธิราชต่างๆได้แปรสภาพเป็นราชอาณาจักรเครือจักรภพและประเทศในเครือจักรภพแห่งประชาชาติ

ประเทศ[‡ 1] ตั้งแต่
ค.ศ.
ถึง
ค.ศ.
สถานะหลังสิ้นสุดสภาพรัฐอธิราช
แคนาดา 1867 1953

เป็นทั้งราชอาณาจักรเครือจักรภพและสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติควบคู่กัน[1][2][3][4]

ออสเตรเลีย 1901 1953

เป็นทั้งราชอาณาจักรเครือจักรภพและสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติควบคู่กัน

นิวซีแลนด์ 1907 1953 เป็นทั้งราชอาณาจักรเครือจักรภพและสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติควบคู่กัน
นิวฟันด์แลนด์ 1907 1949 เป็นมณฑลหนึ่งของแคนาดา[5]
แอฟริกาใต้ 1910 1953 เป็นราชอาณาจักรเครือจักรภพจนถึงเป็นสาธารณรัฐในปี 1961
เสรีรัฐไอร์แลนด์ (1922–37)
ประเทศไอร์แลนด์ (1937–49)
1922 1949 ประกาศตนเป็นสาธารณรัฐ และไม่เป็นสมาชิกในเครือจักรภพฯ
อินเดีย 1947 1950 ต่อมาเป็นสาธารณรัฐอินเดีย โดยเป็นสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติ
ปากีสถาน 1947 1953 เป็นราชอาณาจักรเครือจักรภพจนถึง 1956 หลังจากนั้นใช้ชื่อว่า "สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน"[6]
ซีลอน 1948 1953 เป็นราชอาณาจักรเครือจักรภพจนถึง 1972 หลังจากนั้นใช้ชื่อว่าประเทศศรีลังกา
  1. ธงที่แสดงเป็นธงชาติของแต่ละประเทศในขณะที่มีสถานะเป็นรัฐอธิราช

อ้างอิง

  1. Alan Rayburn (2001). Naming Canada: Stories about Canadian Place Names. University of Toronto Press. pp. 17–21. ISBN 978-0-8020-8293-0.
  2. J. E. Hodgetts. 2004. "Dominion". Oxford Companion to Canadian History, Gerald Hallowell, ed. (ISBN 0-19-541559-0), at http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/acref/9780195415599.001.0001/acref-9780195415599-e-471 - p. 183: "Ironically, defenders of the title dominion who see signs of creeping republicanism in such changes can take comfort in the knowledge that the Constitution Act, 1982, retains the title and requires a constitutional amendment to alter it."
  3. Forsey, Eugene A., in Marsh, James H., ed. 1988. "Dominion" The Canadian Encyclopedia. Hurtig Publishers: Toronto.
  4. "National Flag of Canada Day: How Did You Do?". Department of Canadian Heritage. สืบค้นเมื่อ 7 February 2008. The issue of our country's legal title was one of the few points on which our constitution is not entirely homemade. The Fathers of Confederation wanted to call the country "the Kingdom of Canada". However the British government was afraid of offending the Americans so it insisted on the Fathers finding another title. The term "Dominion" was drawn from Psalm 72. In the realms of political terminology, the term dominion can be directly attributed to the Fathers of Confederation and it is one of the very few, distinctively Canadian contributions in this area. It remains our country's official title.
  5. [1]
  6. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 June 2013. สืบค้นเมื่อ 2013-07-12. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)