ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานันดรศักดิ์ยุโรป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{บรรดาศักดิ์ยุโรป}}
{{บรรดาศักดิ์ยุโรป}}


'''บรรดาศักดิ์ยุโรป''' หมายถึงระบบชั้นและชั้นยศของขุนนางในทวีปยุโรป ปรากฏมากที่สุดใน[[สหราชอาณาจักร]] [[สก็อตแลนด์]] [[บริเตนใหญ่]] และ[[ไอร์แลนด์เหนือ]] แต่ก็มีปรากฏในประเทศอื่นๆ เช่นกัน เช่น[[เดนมาร์ก]] หรือ[[สวีเดน]] เป็นต้น
'''บรรดาศักดิ์ยุโรป''' หมายถึงระบบชั้นและชั้นยศของขุนนางในทวีปยุโรป ปัจจุบันยังปรากฏมากอยู่ใน[[สหราชอาณาจักร]]และยังปรากฏในประเทศอื่นๆ ที่ปกครองด้วยระบอบราชาธิบไตยด้วย เช่น[[เดนมาร์ก]] และ [[สวีเดน]] เป็นต้น


ระบบยศของขุนนางทางฝั่งภาคพื้นยุโรปนี้ ไม่สามารถที่จะคิดเทียบเคียงกับระบบขุนนางของประเทศไทยได้เลย เพราะบรรดาศักดิ์ของยุโรปนี้เป็น'''[[ขุนนางสืบตระกูล|ยศสืบตระกูล]]''' ซึ่งถ้าเป็นขุนนางในประเทศไทย (หรือสยาม) บรรดาศักดิ์นั้นจะคงอยู่เฉพาะตัวคน ๆ นั้นเท่านั้น ไม่สืบทอดต่อไป
ระบบขุนนางในยุโรปนี้เป็นระบบ[[ขุนนางสืบตระกูล]] ทายาทที่อาวุโสที่สุดจะได้ขึ้นสืบบรรดาศักดิ์ มีสิทธิและเกียรติฐานะเทียบเท่ากับเจ้าบรรดาศักดิ์เดิม ซึ่งแตกต่างกับระบบขุนนางในประเทศในเอเชีย ที่บรรดาศักดิ์ขุนนางจะเป็นสิทธิเฉพาะบุคคลเท่านั้น ไม่มีการสืบทอดไปยังรุ่นลูกหลาน

== ลำดับชั้นยศ ==
ยศของขุนนางยุโรปนั้น จะมีอยู่ 5 ลำดับขั้นเรียงจากสูงสุดลงไปได้ดังนี้
# [[ดยุก]] (Duke)
# [[มาร์ควิส]] (Marquess)
# [[เอิร์ล]] (Earl) หรือ [[เคานต์]] (count)
# [[ไวเคานต์]] (Viscount)
# [[บารอน]] (Baron)

เฉพาะลำดับยศใน 5 ชั้นนี้เท่านั้นที่จะถือว่าเป็น "เปียร์" และสามารถเข้าสภาขุนนางได้ ยศอื่นๆ เช่นลอร์ด เลดี้ เซอร์ ฯลฯ นั้นไม่ใช่เปียร์ แม้มีคำหน้าชื่ออย่างไรก็ตามก็ไม่ใช่ขุนนาง เข้าประชุมสภาขุนนางไม่ได้


== ยศและบรรดาศักดิ์ ==
== ยศและบรรดาศักดิ์ ==
{{บทความหลัก|บรรดาศักดิ์อังกฤษ}}
เนื่องจากประเทศอังกฤษ (ต่อมาคือสหราชอาณาจักร) ได้แบ่งคนออกเป็น 3 ชนชั้นคือ
ในสหราชอาณาจักร ได้แบ่งคนออกเป็น 3 ชนชั้นคือ
# '''พระเจ้าแผ่นดิน''' ก็คือสมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชินี<ref>หมายถึง King และ Queen ถ้าหากกษัตริย์เป็นพระราชินีนาถ เช่นในรัชกาลปัจจุบัน พระราชสวามีที่จะถือเป็นพระเจ้าแผ่นดินด้วยจะต้องได้รับสถาปนาเป็น[[กษัตริย์พระราชสวามี]] (King consort) เท่านั้น (มีพระองค์เดียวคือพระราชาฟิลิปในสมเด็จพระราชินีนาถแมรี่ที่ 1) หรือมิฉะนั้นก็ต้องเป็นเจ้าชายพระราชสวามี (มีพระองค์เดียวเช่นกันคือเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) ถ้าหากไม่ได้เป็น King Consort หรือ Prince Consort แล้ว ไม่เข้าประเภทนี้ ดังเช่นปัจจุบันพระเจ้าแผ่นดินแห่งสหราชอาณาจักรหมายถึง[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] พระองค์เดียว แต่หากในรัชกาลที่แล้วพระเจ้าแผ่นดินหมายถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6และสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธ</ref>
# '''พระเจ้าแผ่นดิน''' ก็คือสมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชินีนาถ<ref>หมายถึง King และ Queen ถ้าหากกษัตริย์เป็นพระราชินีนาถ เช่นในรัชกาลปัจจุบัน พระราชสวามีที่จะถือเป็นพระเจ้าแผ่นดินด้วยจะต้องได้รับสถาปนาเป็น[[กษัตริย์พระราชสวามี]] (King consort) เท่านั้น (มีพระองค์เดียวคือพระราชาฟิลิปในสมเด็จพระราชินีนาถแมรี่ที่ 1) หรือมิฉะนั้นก็ต้องเป็นเจ้าชายพระราชสวามี (มีพระองค์เดียวเช่นกันคือเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) ถ้าหากไม่ได้เป็น King Consort หรือ Prince Consort แล้ว ไม่เข้าประเภทนี้ ดังเช่นปัจจุบันพระเจ้าแผ่นดินแห่งสหราชอาณาจักรหมายถึง[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] พระองค์เดียว แต่หากในรัชกาลที่แล้วพระเจ้าแผ่นดินหมายถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6และสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธ</ref>
# '''ขุนนาง''' ขุนนางคือผู้ที่มีบรรดาศักดิ์เป็นดยุก มาร์ควิส เอิร์ล ไวสเคานต์หรือบารอนอย่างใดอย่างหนึ่ง <ref>และจะต้องเป็นผู้ที่ดำรงยศนั้นด้วยตัวเอง (in their own right) คือไม่ว่าจะด้วยการสืบตระกูลมาหรือได้รับการสถาปนาเอง ถ้าหากเป็นยศที่ใช้ในฐานะลูกหลานของเจ้าของยศนั้น ไม่ใช่การดำรงยศด้วยตัวเอง เข้าประชุมสภาขุนนางไม่ได้</ref>
# '''ขุนนาง''' คือผู้ที่มีบรรดาศักดิ์เป็น[[ดยุก]] [[มาร์ควิส]] [[เอิร์ล]] [[ไวเคานต์]] หรือ[[บารอน]] <ref>เนื่องจากสภาขุนนางจำกัดสมาชิก 800 คน จึงไม่สามารถให้ขุนนางทุกคนเข้าประชุมได้ ดังนั้นขุนนางที่เข้าประชุมจะต้องเป็นขุนนางที่มีสิทธิเท่านั้น ซึ่งสิทธินี้อาจได้มาจากการสืบตระกูล หรือ ได้รับสิทธิจากนายกรัฐมนตรี หรือมีสิทธิจากการดำรงตำแหน่งอื่นๆ </ref>
# '''ประชาชน''' คือทุกคนที่เหลือที่ไม่เข้าประเภท 1 และ 2 แม้ว่าจะมีคำนำหน้าชื่ออย่างไรก็เป็นประชาชนธรรมดา
# '''ไพร่''' คือทุกคนที่เหลือที่ไม่เข้าประเภท 1 และ 2 แม้ว่าจะมีคำนำหน้าชื่ออย่างไรก็เป็นไพร่


ในเมื่อมีการแบ่งคนออกได้เป็น 3 ประเภทเช่นนี้แล้ว จะเห็นได้ว่าไม่มี [[พระราชวงศ์]]
ในเมื่อมีการแบ่งคนออกได้เป็น 3 ประเภทเช่นนี้แล้ว จะเห็นได้ว่าไม่มี [[ชนชั้นเจ้า|ชนชั้นราชวงศ์]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:12, 19 ธันวาคม 2559

บรรดาศักดิ์ยุโรป หมายถึงระบบชั้นและชั้นยศของขุนนางในทวีปยุโรป ปัจจุบันยังปรากฏมากอยู่ในสหราชอาณาจักรและยังปรากฏในประเทศอื่นๆ ที่ปกครองด้วยระบอบราชาธิบไตยด้วย เช่นเดนมาร์ก และ สวีเดน เป็นต้น

ระบบขุนนางในยุโรปนี้เป็นระบบขุนนางสืบตระกูล ทายาทที่อาวุโสที่สุดจะได้ขึ้นสืบบรรดาศักดิ์ มีสิทธิและเกียรติฐานะเทียบเท่ากับเจ้าบรรดาศักดิ์เดิม ซึ่งแตกต่างกับระบบขุนนางในประเทศในเอเชีย ที่บรรดาศักดิ์ขุนนางจะเป็นสิทธิเฉพาะบุคคลเท่านั้น ไม่มีการสืบทอดไปยังรุ่นลูกหลาน

ยศและบรรดาศักดิ์

ในสหราชอาณาจักร ได้แบ่งคนออกเป็น 3 ชนชั้นคือ

  1. พระเจ้าแผ่นดิน ก็คือสมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชินีนาถ[1]
  2. ขุนนาง คือผู้ที่มีบรรดาศักดิ์เป็นดยุก มาร์ควิส เอิร์ล ไวเคานต์ หรือบารอน [2]
  3. ไพร่ คือทุกคนที่เหลือที่ไม่เข้าประเภท 1 และ 2 แม้ว่าจะมีคำนำหน้าชื่ออย่างไรก็เป็นไพร่

ในเมื่อมีการแบ่งคนออกได้เป็น 3 ประเภทเช่นนี้แล้ว จะเห็นได้ว่าไม่มี ชนชั้นราชวงศ์

อ้างอิง

  1. หมายถึง King และ Queen ถ้าหากกษัตริย์เป็นพระราชินีนาถ เช่นในรัชกาลปัจจุบัน พระราชสวามีที่จะถือเป็นพระเจ้าแผ่นดินด้วยจะต้องได้รับสถาปนาเป็นกษัตริย์พระราชสวามี (King consort) เท่านั้น (มีพระองค์เดียวคือพระราชาฟิลิปในสมเด็จพระราชินีนาถแมรี่ที่ 1) หรือมิฉะนั้นก็ต้องเป็นเจ้าชายพระราชสวามี (มีพระองค์เดียวเช่นกันคือเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) ถ้าหากไม่ได้เป็น King Consort หรือ Prince Consort แล้ว ไม่เข้าประเภทนี้ ดังเช่นปัจจุบันพระเจ้าแผ่นดินแห่งสหราชอาณาจักรหมายถึงสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระองค์เดียว แต่หากในรัชกาลที่แล้วพระเจ้าแผ่นดินหมายถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6และสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธ
  2. เนื่องจากสภาขุนนางจำกัดสมาชิก 800 คน จึงไม่สามารถให้ขุนนางทุกคนเข้าประชุมได้ ดังนั้นขุนนางที่เข้าประชุมจะต้องเป็นขุนนางที่มีสิทธิเท่านั้น ซึ่งสิทธินี้อาจได้มาจากการสืบตระกูล หรือ ได้รับสิทธิจากนายกรัฐมนตรี หรือมีสิทธิจากการดำรงตำแหน่งอื่นๆ