ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดยุก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า ดุ๊ก ไปยัง ดยุก ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{บรรดาศักดิ์ยุโรป}}
{{บรรดาศักดิ์ยุโรป}}


'''ดุ๊ก'''<ref>{{Cite RIT-EU | 1 = [[สัญชัย สุวังบุตร]] | 2 = [[ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม]] และคณะ | 3 = http://www.royin.go.th/upload/297/FileUpload/950_4913.pdf | 4 = 3 | 5 = 1 (อักษร A-B) | 6 = 974-9588-25-8 | 7 = 42 | 8 = | 9 = 2547 }}</ref> หรือ '''ดยุก'''<ref>[http://nwnt.prd.go.th/centerweb/News/SpecialNewsList?NT22_TmpID=TM57050101 พระราชสาส์นแสดงความยินดีไปยังสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2], สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์, เผยแพร่วันที่ 9 กันยายน 2558, เรียกข้อมูลวันที่ 13 กันยายน 2558</ref> ({{lang-en|duke}} {{IPA-en|djuːk|UK}} {{IPA-en|duːk|US}}; {{lang-fr|duc}}) เป็น[[บรรดาศักดิ์ยุโรป|บรรดาศักดิ์]]ของขุนนางที่ใช้ใน[[ทวีปยุโรป]] ปกครองดินแดนที่เรียก [[ดัชชี]] ดยุกเป็นตำแหน่งที่รองจาก[[พระมหากษัตริย์]] ชื่อนี้มาจากภาษาลาตินว่า "Dux Bellorum" ที่แปลว่า "แม่ทัพ" เป็นตำแหน่งที่นักประพันธ์ชาว[[โรมันโบราณ|โรมัน]]และ[[ชาวเจอร์มานิค]]ใช้บรรยายผู้นำทางทหาร
'''ดยุก''' ({{lang-en|duke}} {{IPA-en|djuːk|UK}}) <ref>[http://nwnt.prd.go.th/centerweb/News/SpecialNewsList?NT22_TmpID=TM57050101 พระราชสาส์นแสดงความยินดีไปยังสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2], สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์, เผยแพร่วันที่ 9 กันยายน 2558, เรียกข้อมูลวันที่ 13 กันยายน 2558</ref> หรือ '''ดุ๊ก'''<ref>{{Cite RIT-EU | 1 = [[สัญชัย สุวังบุตร]] | 2 = [[ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม]] และคณะ | 3 = http://www.royin.go.th/upload/297/FileUpload/950_4913.pdf | 4 = 3 | 5 = 1 (อักษร A-B) | 6 = 974-9588-25-8 | 7 = 42 | 8 = | 9 = 2547 }}</ref> ({{IPA-en|duːk|US}}) เป็น[[บรรดาศักดิ์ยุโรป|บรรดาศักดิ์]]ของขุนนางที่ใช้ใน[[ทวีปยุโรป]] ปกครองดินแดนที่เรียก [[ดัชชี]] ดยุกเป็นตำแหน่งที่รองจาก[[พระมหากษัตริย์]] ชื่อนี้มาจากภาษาลาตินว่า "Dux Bellorum" ที่แปลว่า "แม่ทัพ" เป็นตำแหน่งที่นักประพันธ์ชาว[[โรมันโบราณ|โรมัน]]และ[[ชาวเจอร์มานิค]]ใช้บรรยายผู้นำทางทหาร


ใน[[ยุคกลาง]] ดยุกเป็นตำแหน่งสูงสุดที่ใช้ในบรรดาราชวงศ์เจอร์มานิค ดยุกมีหน้าที่ปกครองจังหวัดที่มีตำแหน่งเหนือกว่า[[เคานต์]]ในด้านอำนาจการปกครอง ในยุคศักดินา ดยุกเป็นตำแหน่งสูงสุดรองลงมาจากพระมหากษัตริย์
ใน[[ยุคกลาง]] ดยุกเป็นตำแหน่งสูงสุดที่ใช้ในบรรดาราชวงศ์เจอร์มานิค ดยุกมีหน้าที่ปกครองจังหวัดที่มีตำแหน่งเหนือกว่า[[เคานต์]]ในด้านอำนาจการปกครอง ในยุคศักดินา ดยุกเป็นตำแหน่งสูงสุดรองลงมาจากพระมหากษัตริย์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:34, 19 ธันวาคม 2559

ดยุก (อังกฤษ: duke สำเนียงบริเตน: /djuːk/) [1] หรือ ดุ๊ก[2] (สำเนียงอเมริกัน: /duːk/) เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางที่ใช้ในทวีปยุโรป ปกครองดินแดนที่เรียก ดัชชี ดยุกเป็นตำแหน่งที่รองจากพระมหากษัตริย์ ชื่อนี้มาจากภาษาลาตินว่า "Dux Bellorum" ที่แปลว่า "แม่ทัพ" เป็นตำแหน่งที่นักประพันธ์ชาวโรมันและชาวเจอร์มานิคใช้บรรยายผู้นำทางทหาร

ในยุคกลาง ดยุกเป็นตำแหน่งสูงสุดที่ใช้ในบรรดาราชวงศ์เจอร์มานิค ดยุกมีหน้าที่ปกครองจังหวัดที่มีตำแหน่งเหนือกว่าเคานต์ในด้านอำนาจการปกครอง ในยุคศักดินา ดยุกเป็นตำแหน่งสูงสุดรองลงมาจากพระมหากษัตริย์

ในสมัยปัจจุบันดยุกส่วนใหญ่เป็นแต่เพียงตำแหน่งที่ไม่มีราชรัฐภายใต้การปกครอง ยกเว้นราชรัฐลักเซมเบิร์ก ส่วนในฝรั่งเศส, โปรตุเกส, สเปน, สหราชอาณาจักร และอิตาลี ตำแหน่งดยุกยังคงเป็นตำแหน่งขุนนางระดับสูงสุด

สุภาพสตรีที่มีบรรดาศักดิ์เป็นดยุก หรือเป็นภริยาโดยชอบธรรม จะเรียกว่า ดัชเชส (อังกฤษ: duchess)

อ้างอิง

  1. พระราชสาส์นแสดงความยินดีไปยังสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2, สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์, เผยแพร่วันที่ 9 กันยายน 2558, เรียกข้อมูลวันที่ 13 กันยายน 2558
  2. สัญชัย สุวังบุตร (2547). ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม และคณะ (บ.ก.). สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: ยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (pdf). Vol. 1 (อักษร A-B) (3 ed.). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. p. 42. ISBN 974-9588-25-8. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2555.

ดูเพิ่ม