ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ละอองลอย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aezahotmail (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมและจำแนกประเภท
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Aerosol.png|thumb|สิ่งที่ฉีดออกมาจากกระป๋องสเปรย์เป็นละอองลอยชนิดหนึ่ง]]
[[ไฟล์:Aerosol.png|thumb|สิ่งที่ฉีดออกมาจากกระป๋องสเปรย์เป็นละอองลอยชนิดหนึ่ง]]


'''ละอองลอย''' หรือ '''แอโรซอล''' (aerosol) คือ ของผสมประเภท[[คอลลอยด์]]ที่ประกอบด้วย อนุภาคของแข็งหรือของเหลว ที่เป็นละอองฟุ้งกระจายในอากาศหรือในก๊าซอื่น<ref>{{cite book | last = Hinds | first = William C. | title = Aerosol Technology | publisher = Wiley - Interscience | edition = 2nd | date = 1999 | isbn = 978-0-471-19410-1 |page=3}}</ref>(มักเรียกละอองอนุภาคของแข็งว่า [[ฝุ่น]] หรือ [[ฝุ่นละออง]])
'''ละอองลอย''' หรือ '''แอโรซอล''' (aerosol) คือ ของผสมประเภท[[คอลลอยด์]]ที่ประกอบด้วยอนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่เป็นละอองฟุ้งกระจายในอากาศหรือในก๊าซอื่น<ref>{{cite book | last = Hinds | first = William C. | title = Aerosol Technology | publisher = Wiley - Interscience | edition = 2nd | date = 1999 | isbn = 978-0-471-19410-1 |page=3}}</ref> (มักเรียกละอองอนุภาคของแข็งว่า [[ฝุ่น]] หรือ [[ฝุ่นละออง]]) อนุภาคเหล่านี้ลอยในอากาศในลักษณะกึ่ง[[สารละลาย]]และกึ่ง[[สารแขวนลอย]] เช่นเดียวกับคอลลอยด์ชนิดอื่น ๆ ระยะแรกหมายความเฉพาะอนุภาคของแข็งที่กระจายในก๊าซ แต่ปัจจุบันรวมถึงหยดละอองของเหลวหรือทั้งคู่ที่กระจายในก๊าซ


ละอองลอยมีอนุภาคขนาดเล็ก (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 10–100 ไมโครเมตร) ที่แขวนลอยในอากาศอยู่ในสถานะของแข็งและสถานะของเหลว มีแหล่งกำเนิดมาจากแหล่งกำเนิดธรรมชาติ เช่น เกิดจากภูเขาไฟ ไฟไหม้ป่า การกระเซ็นของละอองน้ำทะเล ฝุ่น ควัน การกัดเซาะผิวหน้าดินโดยลม เป็นต้น
อนุภาคเหล่านี้ลอยในอากาศในลักษณะกึ่ง[[สารละลาย]] และกึ่ง[[สารแขวนลอย]] เช่นเดียวกับคอลลอยด์ชนิดอื่นๆ ระยะแรกหมายความเฉพาะ อนุภาคของแข็ง ที่กระจายในก๊าซ แต่ปัจจุบันรวมถึง หยดละอองของเหลว หรือทั้งคู่ ที่กระจายในก๊าซ


== ละอองลอยสามารถจำแนกได้เป็น ==
ละอองลอยมีอนุภาคขนาดเล็ก(ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ระหว่าง10–100 ไมโครเมตร) ที่แขวนลอยในอากาศอยู่ในสถานะของแข็งและสถานะของเหลว มีแหล่งกำเนิดมาจากแหล่งกำเนิดธรรมชาติ เช่น เกิดจากภูเขาไฟ ไฟไหม้ป่า การกระเซ็นของละอองน้ำทะเล ฝุ่น ควัน การกัดเซาะผิวหน้าดินโดยลม เป็นต้น
* ฝุ่น อนุภาคของแข็งที่เกิดจากการระเบิดภูเขาไฟ

* เขม่า เป็นอนุภาคที่หลงเหลือจากการเผ่าไม้ไม่สมบูรณ์ เป็นผลที่เหลืออยู่ของปฏิกิริยาการเผาไหม้คาร์บอน
== '''ละอองลอยสามารถจำแนกได้เป็น''' ==
1. ฝุ่น อนุภาคของแข็งที่เกิดจากการระเบิดภูเขาไฟ
* ไอควัน เป็นของแข็งที่เกิดจากการเผ่าไหม้ หรือท่อไอเสียรถยนต์
* หมอก ของเหลวที่เป็นละอองน้ำอยู่ในอากาศ

* ฝุ่นที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม
2. เขม่า เป็นอนุภาคที่หลงเหลือจากการเผ่าไม้ไม่สมบูรณ์ เป็นผลที่เหลืออยู่ของปฏิกิริยาการเผาไหม้คาร์บอน

3. ไอควัน เป็นของแข็งที่เกิดจากการเผ่าไหม้ หรือท่อไอเสียรถยนต์

4. หมอก ของเหลวที่เป็นละอองน้ำอยู่ในอากาศ

5. ฝุ่นที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references />


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 31: บรรทัด 25:
[[หมวดหมู่:คอลลอยด์]]
[[หมวดหมู่:คอลลอยด์]]
[[หมวดหมู่:ฝุ่น]]
[[หมวดหมู่:ฝุ่น]]
{{โครง}}
{{โครงวิทยาศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:43, 14 ธันวาคม 2559

สิ่งที่ฉีดออกมาจากกระป๋องสเปรย์เป็นละอองลอยชนิดหนึ่ง

ละอองลอย หรือ แอโรซอล (aerosol) คือ ของผสมประเภทคอลลอยด์ที่ประกอบด้วยอนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่เป็นละอองฟุ้งกระจายในอากาศหรือในก๊าซอื่น[1] (มักเรียกละอองอนุภาคของแข็งว่า ฝุ่น หรือ ฝุ่นละออง) อนุภาคเหล่านี้ลอยในอากาศในลักษณะกึ่งสารละลายและกึ่งสารแขวนลอย เช่นเดียวกับคอลลอยด์ชนิดอื่น ๆ ระยะแรกหมายความเฉพาะอนุภาคของแข็งที่กระจายในก๊าซ แต่ปัจจุบันรวมถึงหยดละอองของเหลวหรือทั้งคู่ที่กระจายในก๊าซ

ละอองลอยมีอนุภาคขนาดเล็ก (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 10–100 ไมโครเมตร) ที่แขวนลอยในอากาศอยู่ในสถานะของแข็งและสถานะของเหลว มีแหล่งกำเนิดมาจากแหล่งกำเนิดธรรมชาติ เช่น เกิดจากภูเขาไฟ ไฟไหม้ป่า การกระเซ็นของละอองน้ำทะเล ฝุ่น ควัน การกัดเซาะผิวหน้าดินโดยลม เป็นต้น

ละอองลอยสามารถจำแนกได้เป็น

  • ฝุ่น อนุภาคของแข็งที่เกิดจากการระเบิดภูเขาไฟ
  • เขม่า เป็นอนุภาคที่หลงเหลือจากการเผ่าไม้ไม่สมบูรณ์ เป็นผลที่เหลืออยู่ของปฏิกิริยาการเผาไหม้คาร์บอน
  • ไอควัน เป็นของแข็งที่เกิดจากการเผ่าไหม้ หรือท่อไอเสียรถยนต์
  • หมอก ของเหลวที่เป็นละอองน้ำอยู่ในอากาศ
  • ฝุ่นที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม

อ้างอิง

  1. Hinds, William C. (1999). Aerosol Technology (2nd ed.). Wiley - Interscience. p. 3. ISBN 978-0-471-19410-1.

ดูเพิ่ม