ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขนมต้ม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลบรูป เพราะในรูปเป็นขนมมัน ไม่ใช่ขนมต้ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 6758454 สร้างโดย 49.49.249.28 (พูดคุย)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
''สำหรับบทความที่เป็นชื่อนักมวยดูที่ [[นายขนมต้ม]]"
''สำหรับบทความที่เป็นชื่อนักมวยดูที่ [[นายขนมต้ม]]''
[[ไฟล์:Khanom tom.JPG|thumb|200px|ขนมต้ม]]
'''ขนมต้ม'''เป็นขนมที่มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่[[อาณาจักรสุโขทัย|สมัยสุโขทัย]] เข้ามาพร้องกับ[[ศาสนาพราหมณ์]]และลัทธิความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้า โดยเชื่อกันว่า[[พระพิฆเนศ]]โปรดขนมนี้มาก ครั้งหนึ่งเสวยเข้าไปจนเต็มพุง เมื่อขี่หนูกลับวิมาน ระหว่างทางหนูมาเจองู ตกใจจึงหยุดทันที พระพิฆเนศตกจากหลังหนู พุงแตก พระพิฆเนศเสียดายขนมจึงกอบเข้าใส่พุงใหม่แล้วเอาซากงูที่ตีตายแล้วมาพันพุงไว้ แล้วจึงกลับไปวิมาน <ref name="พลศรี" >พลศรี คชาชีวะ. ขนมมิ่งมงคล. แม่บ้านทันสมัย. 11 (151):20-25, พฤศจิกายน 2539</ref>ต่อมาได้มีบทบาทสำคัญในพิธีบวงสรวง[[เทวดา]] ในพิธีกรรมต่างๆ เช่น ยกเสาเอก ตั้ง[[ศาลพระภูมิ]] ในประเพณีสู่ขอแต่โบราณในบางท้องที่ใช้ขนมต้มด้วย ดังมี[[เพลงพวงมาลัย]]ร้องเล่นว่า<ref>ส.พลายน้อย. เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กทม. ดอกหญ้า. 2537</ref>
'''ขนมต้ม'''เป็นขนมที่มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่[[อาณาจักรสุโขทัย|สมัยสุโขทัย]] เข้ามาพร้องกับ[[ศาสนาพราหมณ์]]และลัทธิความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้า โดยเชื่อกันว่า[[พระพิฆเนศ]]โปรดขนมนี้มาก ครั้งหนึ่งเสวยเข้าไปจนเต็มพุง เมื่อขี่หนูกลับวิมาน ระหว่างทางหนูมาเจองู ตกใจจึงหยุดทันที พระพิฆเนศตกจากหลังหนู พุงแตก พระพิฆเนศเสียดายขนมจึงกอบเข้าใส่พุงใหม่แล้วเอาซากงูที่ตีตายแล้วมาพันพุงไว้ แล้วจึงกลับไปวิมาน <ref name="พลศรี" >พลศรี คชาชีวะ. ขนมมิ่งมงคล. แม่บ้านทันสมัย. 11 (151):20-25, พฤศจิกายน 2539</ref>ต่อมาได้มีบทบาทสำคัญในพิธีบวงสรวง[[เทวดา]] ในพิธีกรรมต่างๆ เช่น ยกเสาเอก ตั้ง[[ศาลพระภูมิ]] ในประเพณีสู่ขอแต่โบราณในบางท้องที่ใช้ขนมต้มด้วย ดังมี[[เพลงพวงมาลัย]]ร้องเล่นว่า<ref>ส.พลายน้อย. เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กทม. ดอกหญ้า. 2537</ref>
{{เริ่มกาพย์}}
{{เริ่มกาพย์}}
บรรทัด 9: บรรทัด 10:


ขนมที่เรียกว่าขนมต้มของภาคใต้จะต่างไปจากภาคกลาง ขนมต้มของภาคใต้จะเป็นข้าวเหนียวผสมน้ำกะทิห่อใบ[[กะพ้อ]]แล้วเอาไปต้ม บางท้องที่เรียกห่อต้ม ขนมที่ทำแบบนี้ทางภาคกลางเรียก[[ข้าวต้มมัด]]หรือข้าวต้มผัด<ref>วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดี เล่ม 2. กทม. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. 2527</ref>
ขนมที่เรียกว่าขนมต้มของภาคใต้จะต่างไปจากภาคกลาง ขนมต้มของภาคใต้จะเป็นข้าวเหนียวผสมน้ำกะทิห่อใบ[[กะพ้อ]]แล้วเอาไปต้ม บางท้องที่เรียกห่อต้ม ขนมที่ทำแบบนี้ทางภาคกลางเรียก[[ข้าวต้มมัด]]หรือข้าวต้มผัด<ref>วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดี เล่ม 2. กทม. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. 2527</ref>

== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ขนมโมทกะ]]
* [[ขนมโมทกะ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:54, 13 ธันวาคม 2559

สำหรับบทความที่เป็นชื่อนักมวยดูที่ นายขนมต้ม

ขนมต้ม

ขนมต้มเป็นขนมที่มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เข้ามาพร้องกับศาสนาพราหมณ์และลัทธิความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้า โดยเชื่อกันว่าพระพิฆเนศโปรดขนมนี้มาก ครั้งหนึ่งเสวยเข้าไปจนเต็มพุง เมื่อขี่หนูกลับวิมาน ระหว่างทางหนูมาเจองู ตกใจจึงหยุดทันที พระพิฆเนศตกจากหลังหนู พุงแตก พระพิฆเนศเสียดายขนมจึงกอบเข้าใส่พุงใหม่แล้วเอาซากงูที่ตีตายแล้วมาพันพุงไว้ แล้วจึงกลับไปวิมาน [1]ต่อมาได้มีบทบาทสำคัญในพิธีบวงสรวงเทวดา ในพิธีกรรมต่างๆ เช่น ยกเสาเอก ตั้งศาลพระภูมิ ในประเพณีสู่ขอแต่โบราณในบางท้องที่ใช้ขนมต้มด้วย ดังมีเพลงพวงมาลัยร้องเล่นว่า[2]

โอ้ละเหยลอยมา ลอยมาแล้วก็ลอยไป
พ่อแม่ท่านเลี้ยงมายาก จะกินขันหมากให้ได้
ไม่ได้กินหนมต้มอมน้ำตาล น้องไม่รับประทานของใคร
พวงเจ้าเอ๋ยมาลัย ถอยหลังกลับไปเถิดเอย

ขนมต้มขาวนั้น ใช้แป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนกลม ใส่ไส้น้ำตาลหม้อ ลงไปต้มให้สุก โรยด้วยมะพร้าวขูด ต่อมาจึงทำหน้ากระฉีก ซึ่งเป็นมะพร้าวขูดมาเคี่ยวกับน้ำตาลหม้อจนเหนียว ใช้เป็นไส้แทน ส่วนขนมต้มแดง ใช้แป้งข้าวเหนียวแผ่เป็นแผ่นแบน ต้มให้สุก ราดด้วยหน้ากระฉีกที่ค่อนข้างเหลว[1]

ขนมที่เรียกว่าขนมต้มของภาคใต้จะต่างไปจากภาคกลาง ขนมต้มของภาคใต้จะเป็นข้าวเหนียวผสมน้ำกะทิห่อใบกะพ้อแล้วเอาไปต้ม บางท้องที่เรียกห่อต้ม ขนมที่ทำแบบนี้ทางภาคกลางเรียกข้าวต้มมัดหรือข้าวต้มผัด[3]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 พลศรี คชาชีวะ. ขนมมิ่งมงคล. แม่บ้านทันสมัย. 11 (151):20-25, พฤศจิกายน 2539
  2. ส.พลายน้อย. เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กทม. ดอกหญ้า. 2537
  3. วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดี เล่ม 2. กทม. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. 2527