ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนเสรีไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ถนนเสรีไทยเดิมชื่อว่า '''ถนนสุขาภิบาล 2''' และ '''ถนนบึงกุ่ม''' ต่อมากรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อเป็นการสดุดีเกียรติคุณของ[[ขบวนการเสรีไทย]] ในวาระครบรอบ 50 ปี [[วันสันติภาพไทย]] และการสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ในปี [[พ.ศ. 2538]]
ถนนเสรีไทยเดิมชื่อว่า '''ถนนสุขาภิบาล 2''' และ '''ถนนบึงกุ่ม''' ต่อมากรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อเป็นการสดุดีเกียรติคุณของ[[ขบวนการเสรีไทย]] ในวาระครบรอบ 50 ปี [[วันสันติภาพไทย]] และการสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ในปี [[พ.ศ. 2538]]


สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ ได้แก่ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (นิด้า) [[สวนเสรีไทย]] (สวนน้ำบึงกุ่มเดิม) ซึ่งภายในมี[[พิพิธภัณฑ์เสรีไทย]] ณ อาคารเสรีไทยอนุสรณ์ [[สวนสยาม]] วัดบำเพ็ญเหนือ และ[[นิคมอุตสาหกรรมบางชัน]]
สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ ได้แก่ [[การเคหะแห่งชาติ]] [[เคหะชุมชนคลองจั่น]] [[โรงเรียนบางกะปิ]] [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (นิด้า) [[สวนเสรีไทย]] (สวนน้ำบึงกุ่มเดิม) ซึ่งภายในมี[[พิพิธภัณฑ์เสรีไทย]] ณ อาคารเสรีไทยอนุสรณ์ [[สวนสยาม]] [[ตลาดน้ำขวัญเรียม]] [[วัดบำเพ็ญเหนือ]] [[นิคมอุตสาหกรรมบางชัน]] [[เคหะชุมชนบางชัน]] และ[[โรงพยาบาลเสรีรักษ์]]


{{เรียงลำดับ|เสรีไทย}}
{{เรียงลำดับ|เสรีไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:53, 13 ธันวาคม 2559

ถนนเสรีไทย ({อักษรโรมัน: Thanon Seri Thai) เริ่มตั้งแต่เขตบางกะปิ ผ่านเขตบึงกุ่ม เขตคันนายาว ไปสิ้นสุดที่เขตมีนบุรี ในกรุงเทพมหานคร เดิมอยู่ในความดูแลของแขวงการทางกรุงเทพ กรมทางหลวง และได้รับการกำหนดเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3278 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร

ถนนสายนี้มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกบางกะปิ ปลายถนนลาดพร้าวในเขตบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยมีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนศรีบูรพาที่แยกนิด้า ผ่านเขตบึงกุ่ม ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก (ด้านตะวันออก) ถนนสวนสยาม และตัดกับถนนมีนพัฒนาที่แยกบางชัน ไปสิ้นสุดที่แยกเมืองมีน ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์ และถนนสีหบุรานุกิจในเขตมีนบุรี

ถนนเสรีไทยเดิมชื่อว่า ถนนสุขาภิบาล 2 และ ถนนบึงกุ่ม ต่อมากรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อเป็นการสดุดีเกียรติคุณของขบวนการเสรีไทย ในวาระครบรอบ 50 ปี วันสันติภาพไทย และการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2538

สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ ได้แก่ การเคหะแห่งชาติ เคหะชุมชนคลองจั่น โรงเรียนบางกะปิ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) สวนเสรีไทย (สวนน้ำบึงกุ่มเดิม) ซึ่งภายในมีพิพิธภัณฑ์เสรีไทย ณ อาคารเสรีไทยอนุสรณ์ สวนสยาม ตลาดน้ำขวัญเรียม วัดบำเพ็ญเหนือ นิคมอุตสาหกรรมบางชัน เคหะชุมชนบางชัน และโรงพยาบาลเสรีรักษ์