ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ของแข็ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Enarm160640 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมหัวข้อประเภทของของแข็ง
Zeenxxi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
==ประเภทของของแข็ง==
==ประเภทของของแข็ง==
ของแข็งมีแรงระหว่างอะตอมที่สามารถทำให้เกิดของแข็งหลายรูปแบบ เช่น ผลึกของโซเดียมคลอไรด์(เกลือทั่วไป) ซึ่งประกอบด้วยโซเดียมไอออนและคลอรีนจับรวมกันโดยพันธะไอออนิก ส่วนเพชรหรือซิลิคอนใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นพันธะโคเวเลนต์ในโลหะ ของแข็งบางชนิดโดยเฉพาะสารอินทรีย์จะถูกยึดโมเลกุลเข้าด้วยกันด้วยแรงเวนเดอร์วาลส์ที่เกิดจากการโพลาไรเซชัน ทำให้ของแข็งที่ได้มีความแตกต่างกัน ได้แก่
ของแข็งมีแรงระหว่างอะตอมที่สามารถทำให้เกิดของแข็งหลายรูปแบบ เช่น ผลึกของโซเดียมคลอไรด์(เกลือทั่วไป) ซึ่งประกอบด้วยโซเดียมไอออนและคลอรีนจับรวมกันโดยพันธะไอออนิก ส่วนเพชรหรือซิลิคอนใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นพันธะโคเวเลนต์ในโลหะ ของแข็งบางชนิดโดยเฉพาะสารอินทรีย์จะถูกยึดโมเลกุลเข้าด้วยกันด้วยแรงเวนเดอร์วาลส์ที่เกิดจากการโพลาไรเซชัน ทำให้ของแข็งที่ได้มีความแตกต่างกัน ได้แก่
=== 1.ของแข็งอสันฐาน(Amorphous solid)===
===โลหะ (Metals)===
การจัดเรียงอนุภาคภายในไม่เป็นระเบียบ มีรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อแตกหักจะได้ชิ้นส่วนที่ไม่เป็นทรงเรขาคณิต หรือเมื่อได้รับความร้อนปริมาณมากพอจะค่อย ๆ อ่อนตัวกลายเป็นของเหลวและไหลได้ ของแข็งประเภทนี้ส่วนใหญ่ไม่สามารถหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนได้<ref>http://www.promma.ac.th/main/chemistry/solid_liquid_gas/amorphous.htm</ref>
โลหะโดยทั่วไปมีความแข็งแรง ความหนาแน่น นำความร้อน และนำไฟฟ้าได้ดี โลหะเป็นกลุ่มของธาตุที่อยู่ด้านซ้ายและกึ่งอโลหะอยู่เส้นแนวทแยงจาก[[โบรอน]]ถึง[[พอโลเนียม]]ใน[[ตารางธาตุ]] ส่วนโลหะผสมคือโลหะที่นำโลหะ 2 ชนิดมารวมกัน
=== 2.ของแข็งที่เป็นผลึก(Crystalline solid)===
ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์คนได้ใช้โลหะเพื่อวัตถุประสงค์หลายอย่าง ความแข็งแรงของโลหะมีสารตะกั่วที่ใช้กันแพร่หลายในการก่อสร้างอาคารและโครงสร้างอื่นๆ [[เหล็ก]]และ[[อะลูมิเนียม]]เป็น 2 ส่วนใหญ่ที่นิยมใช้เป็นโลหะโครงสร้าง นอกจากนี้เหล็กและอะลูมิเนียมยังเป็นโลหะที่มีมากที่สุดในปลือกโลก เหล็กที่ใช้กันมากที่สุดคือเหล็กในรูปแบบของโลหะผสม
มีการจัดเรียงอนุภาคอย่างเป็นระเบียบ มีเหลี่ยม มีมุม
การศึกษาองค์ประกอบของโลหะและโลหะผสมเป็นส่วนประกอบสำคัญของสาขาเคมีขของของแข็ง ฟิสิกส์ วัสดุศาสตร์และวิศวกรรม
===แร่ (Minerals)===
แร่เป็นของแข็งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติผ่านกระบวนการต่างๆทางธรณีวิทยาภายใต้ความดันสูง สามารถจำแนกแร่ได้จากคุณสามบัติทางกายภาพที่แหมือนกัน แร่เป็นที่บริสุทธิ์และมีองค์ประกอบทางเคมีที่ไม่เจาะจง
===เซรามิค (Ceramics)===
เซรามิคเป็นของแข็งที่มีองค์ประกอบของสารประกอบอินทรีย์มีความสามรถในการทนต่อการกัดกร่อนทางเคมีที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่เป็นกรดหรือสารกัดกร่อน โดยทั่วไปเซรามิคสามารถทนต่ออุณหภูมิตั้งแต่ 1000-1600 องศา ยกเว้น วัสดุอนินทรีย์-ออกไซด์ เซรามิคทนความร้อน มีความแข็ง สามารถทนความเป็นกรดด่างได้ แต่นำไฟฟ้าได้ไม่ดี เซรามิคทำมาจากนำดินเหนียวไปเผา จะได้หม้อ ไห ถ้วย ชาม เครื่องเลือบดินเผา อิฐ กระเบื้องเคลือบ วัสดุประเภทซีเมนต์ แก้ว และวัตถุทนไฟ เป็นต้น
=====แก้วเซรามิค (Glasess Ceramics)=====
ทุกคนย่อมทราบดีว่าแก้วเป็นของแข็งที่โปร่งใส ความโปร่งใสของแก้วเกิดจากการที่แก้วเป็นของแข็งที่ไม่เป็นผลึก เนื่องจากในกระบวนการหลอมแก้วจะเร่งให้เนื้อแก้วเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วเกินกว่าที่จะตกผลึก ดังนั้น หากกระบวนการเย็นตัวเกิดขึ้นไม่เร็วพอ จะทำให้แก้วนั้นสามารถตกผลึกได้เช่นกัน ตามปกติ ผลึกดังกล่าว จะเป็นตำหนิในเนื้อแก้ว แต่หากสามารถควบคุมการตกผลึกของเนื้อแก้ว ให้เป็นไปอย่างสม่ำเสมอ และมีขนาดที่เหมาะสมแล้ว จะได้วัสดุชนิดหนึ่งที่เรียกว่า กลาสเซรามิก ซึ่งมีสมบัติ และการนำไปใช้งาน ที่แตกต่างจากแก้วทั่วไป

การผลิตกลาสเซรามิกเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1957 โดย เอส ดี สตูกี (S.D.Stookey) แห่งบริษัทคอร์นนิงกลาส (Corning Glass) กระบวนการผลิตกลาสเซรามิกจะเริ่มจากการหลอมเนื้อแก้วให้เป็นของเหลวเช่นเดียวกับแก้วชนิดอื่นๆ แต่จะแตกต่างกันคือ กลาสเซรามิกจะต้องผ่านกระบวนการทางความร้อน (heat treatment) ซึ่งจะทำให้ ตัวสร้างนิวเคลียส (nucleating agent) เช่น TiO2 ที่ผสมอยู่ในเนื้อแก้วตกผลึกออกมา และเป็นแกนกลาง ให้เนื้อแก้วส่วนอื่นๆ มาเกาะทำให้ผลึกเติบโตขึ้น การควบคุมชนิด ปริมาณ ขนาดและรูปร่างของผลึกที่เกิดขึ้น จะทำให้สมบัติของกลาสเซรามิกที่มีส่วนผสมเดียวกัน มีความแตกต่างกันออกไปได้มากมายตามความต้องการ กลาสเซรามิกที่รู้จักกันดีที่สุดคือ คอร์เดียไรต์ (Cordierite, 2MgO.2Al2O3.SiO2) และสปอดูมีน (Spodumene, Li2O.Al2O3.4SiO2) ซึ่งมีสัมประสิทธิการขยายตัวเมื่อได้รับความร้อนต่ำมากจนเกือบเป็นศูนย์หรือเกือบไม่ขยายตัวเลย จึงทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโดยฉับพลัน (thermal shock) ได้ดี จึงถูกนำมาผลิตเป็น วัสดุที่ต้องสัมผัสกับความร้อน เช่น ภาชนะหุงต้มอาหาร กระจกเตาอบ ประตูกันไฟ (fire doors) กลาสเซรามิก มีความแข็งแรงสูงกว่าแก้วทั่วไป จึงมีการนำมาใช้เป็นวัสดุตกแต่งอาคาร วัสดุทันตกรรม กระดูกเทียม กลาสเซรามิกจำพวกไมก้าที่ผสมฟลูออรีน (fluorine-containing mica) สามารถนำมาเจาะตกแต่งได้ โดยไม่แตกหักเสียหาย นอกจากนั้นแล้ว กลาสเซรามิกยังสามารถนำไปใช้งานด้านอื่นๆ อีกมากมาย เช่น กระจกป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic windows) อุปกรณ์เก็บข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้งานด้านแสง วัสดุทนไฟ รวมถึงผิวเคลือบที่ทนต่อการกัดกร่อน (corrosion-resistant coating) ได้อีกด้วย <ref>http://www.material.chula.ac.th/RADIO45/August/radio8-1.htm</ref>

===ของแข็งอินทรีย์===
เคมีอินทรีย์ศึกษาโครงสร้างคุณสมบัติองค์ประกอบของปฏิกิริยาและการเตรียมความพร้อมโดยการสังเคราะห์ (หรือวิธีการอื่น ๆ ) ของสารประกอบทางเคมีของคาร์บอนและไฮโดรเจนซึ่งอาจมีจำนวนขององค์ประกอบอื่นๆ เช่นไนโตรเจนออกซิเจนและฮาโลเจน ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีนและไอโอดีน สารอินทรีย์บางตัวก็อาจจะมีฟอสฟอรัสธาตุกำมะถัน ตัวอย่างของของแข็งอินทรีย์ ได้แก่ ไม้ ขี้ผึ้ง พาราฟินเหม็น และความหลากหลายของโพลิเมอร์และพลาสติก
=====ขี้ผึ้ง (Beewax)=====
วัสดุสำคัญที่ใช้ในการทำเทียนมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ ขี้ผึ้ง ซึ่งมาจากรังผึ้งนั่นเอง โดยมากจะเก็บมาจากรังผึ้งร้าง ผึ้งงานจะสร้างขี้ผึ้งด้วยต่อมที่อยู่บริเวณท้องน้อยของผึ้ง ขี้ผึ้งที่สร้างขึ้นมีลักษณะเป็นเกล็ดบาง ๆ ผึ้งงานจะนำขี้ผึ้งไปใช้ในการสร้างรังผึ้ง สีของขี้ผึ้งมีตั้งแต่สีเหลืองอ่อนไล่ไปจนถึงสีเหลืองแกมน้ำตาล ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ของขี้ผึ้ ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด กรดอิสระตลอดจนแอลกอฮอล์ ขี้ผึ้งมีจุดหลอมเหลวที่อุณหภูมิ 62 – 64 องศาเซลเซียส และจะถึงจุดติดไฟเมื่ออุณหภูมิขึ้นไปถึง 204.4 องศาเซลเซียส ความหนาแน่นของขี้ผึ้งอยู่ระหว่าง 958 – 970 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรที่ 15 องศาเซลเซียส
ขี้ผึ้งเป็นสารที่มีความเหนียวและอ่อนตัวได้ง่ายเมื่อได้รับความร้อนไม่มากนัก จึงนำมาเปลี่ยนรูปร่างได้โดยใช้การออกแรงเช่น ใช้ในการฟั่นเทียน ซึ่งเป็นการคลึงก้อนขี้ผึ้งรอบไส้ที่ทำด้วยด้วยด้ายดิบหรือฝ้าย เมื่อนำไปจุดจะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ จากขี้ผึ้งด้วย<ref>http://fieldtrip.ipst.ac.th/intro_sub_content.php?content_id=19&content_folder_id=216</ref>




บรรทัด 65: บรรทัด 51:
==การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง==
==การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง==


ธาตุต่างๆ บางชนิดในธรรมชาติจะมีการจัดเรียงตัวของอะตอมในรูปของโมเลกุลได้หลายรูปแบบ เราเรียกว่าอัญรูป (allotrope) ของธาตุเช่นกำมะถันมีโครงสร้างผลึกเป็นรอมบิก(rhombic) และมอนอคลินิก(monoclinic)การที่สารสามารถเปลี่ยนโครงสร้างจากแบบหนึ่งไปอีกแบบหนึ่งได้ภายใต้ภาวะอุณหภูมิ และความดันค่าหนึ่ง เราเรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดแทรนซิชัน (transition point)
ธาตุต่างๆ บางชนิดในธรรมชาติจะมีการจัดเรียงตัวของอะตอมในรูปของโมเลกุลได้หลายรูปแบบ เราเรียกว่าอัญรูป (allotrope) ของธาตุเช่นกำมะถันมีโครงสร้างผลึกเป็นรอมบิก(rhombic) และมอนอคลินิก(monoclinic)การที่สารสามารถเปลี่ยนโครงสร้างจากแบบหนึ่งไปอีกแบบหนึ่งได้ภายใต้ภาวะอุณหภูมิ และความดันค่าหนึ่ง เราเรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดแทรนซิชัน (transition point) สามารถแบ่งตามลักษณะการจัดเรียงอนุภาคขอฃสารได้ 2 ชนิด

==== 1.ของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก (crystalline solid) ====
1.1 โครงสร้างผลึก (crystal structure) ของวัสดุ เรามักจะนึกถึงอะตอมหรือไอออนในรูปของทรงกลมที่จัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบในระบบโครงข่ายสามมิติ หรือที่เรียกว่า แลตทิซ (lattice) จุดตัดบนโครงข่ายสามมิตินี้เรียกว่า จุดแลตทิซ (lattice point) ซึ่งแสดงถึงอะตอมของในโครงข่าย แต่ละส่วนย่อยที่จัดเรียงตัวซ้ำๆกันในแลตทิซเรียกว่า ยูนิตเซลล์ (unit cell) ซึ่งกำหนดด้วยความยาวแต่ละด้าน a,b,c

1.2 ยูนิตเซลล์มีทั้งหมด 7 แบบ แต่ละแบบมีความยาวของแต่ละด้านและมุมที่ด้านประกอบกันแตกต่างกันออกไป เราเรียกยูนิตเซลล์ทั้ง 7 แบบนี้ว่า ระบบผลึก (crystal system) ยกตัวอย่างเช่น ระบบผลึกคิวบิก (cubic) เป็นระบบผลึกที่แต่ละด้านมีความยาวเท่ากันและทำมุมกัน 90 องศา หรือ ระบบผลึกออร์โธรอมบิก (orthorhombic) ที่แต่ละด้านทำมุมกัน 90 องศา แต่ว่ามีความยาวไม่เท่ากัน

==== 2.ของแข็งอสัณฐาน (amorphous solid) ====
ของแข็งที่อนุภาคอยู่ปะปนกันอย่างไม่เป็นระเบียบ ไม่มีรูปร่างที่แน่นอนเช่น แก้ว โพลิเมอร์ ยางธรรมชาติ ฯลฯ มีสมบัติทั่วๆ ไปคล้ายผลึก แตกต่างกันที่ไม่มีรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอน ดังนั้นจึงมีสมบัติที่เรียกว่า isotropy คือ ค่าดรรชนีหักเห การนําไฟฟ่า และคุณสมบัติอื่นๆ จะเหมือนกันหมดทุกทิศทาง <ref>https://enchemcom2g.wordpress.com/solid/</ref>




บรรทัด 93: บรรทัด 87:


การระเหิดของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสารชนิดที่ไม่มีขั้วหรือมีขั้วน้อยมาก และมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces) อย่างอ่อน เช่น แรงลอนดอน (London forces) เมื่ออนุภาคของสารได้รับความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อย จะทำให้อนุภาคของสารนั้นแยกออกจากผลึก โดยเฉพาะอนุภาคที่อยู่บริเวณผิวหน้าของผลึกจะหลุดออกและเคลื่อนที่เป็นอิสระได้ง่าย เช่น การระเหิดของไอโอดีน การระเหิดของแนฟทาลีน การะบูร เมนทอล เป็นต้น หรือ การระเหิด (sublimation หรือ primary drying) คือปรากฏการณ์ที่สสารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นไอหรือก๊าซ ที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดหลอมเหลว โดยไม่ผ่านสถานะของเหลวโมเลกุลของสารในสถานะของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก ของแข็งจึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าในสถานะของเหลว ทำให้ของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรแน่นอน ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ โมเลกุลของของแข็งเคลื่อนที่ไม่ได้ แต่ก็มีการสั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา
การระเหิดของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสารชนิดที่ไม่มีขั้วหรือมีขั้วน้อยมาก และมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces) อย่างอ่อน เช่น แรงลอนดอน (London forces) เมื่ออนุภาคของสารได้รับความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อย จะทำให้อนุภาคของสารนั้นแยกออกจากผลึก โดยเฉพาะอนุภาคที่อยู่บริเวณผิวหน้าของผลึกจะหลุดออกและเคลื่อนที่เป็นอิสระได้ง่าย เช่น การระเหิดของไอโอดีน การระเหิดของแนฟทาลีน การะบูร เมนทอล เป็นต้น หรือ การระเหิด (sublimation หรือ primary drying) คือปรากฏการณ์ที่สสารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นไอหรือก๊าซ ที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดหลอมเหลว โดยไม่ผ่านสถานะของเหลวโมเลกุลของสารในสถานะของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก ของแข็งจึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าในสถานะของเหลว ทำให้ของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรแน่นอน ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ โมเลกุลของของแข็งเคลื่อนที่ไม่ได้ แต่ก็มีการสั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา

ของแข็งอสัณฐาน (amorphous solid) หรือของแข็งที่ไม่มีรูปผลึก อนุภาคเรียงตัวไม่เป็นระเบียบเช่น แก้ว โพลิเมอร์ ยางธรรมชาติ ฯลฯ มีสมบัติทั่วๆ ไปคล้ายผลึก แตกต่างกันที่ไม่มีรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอน ดังนั้นจึงมีสมบัติที่เรียกว่า isotropy คือ ค่าดรรชนีหักเห การนำไฟฟ่า และคุณสมบัติอื่นๆ จะเหมือนกันหมดทุกทิศทาง นอกจากนี้ของแข็งอสัณฐานจะมีจุดหลอมเหลวไม่เด่นชัด เมื่อได้รับความร้อนจะค่อยๆ อ่อนตัวจนกระทั่งไหลได้ อุณหภูมิที่ของแข็งชนิดนี้หลอมตัวจึงอยู่ในช่วงที่ยาว ต่างจากผลึกซึ่งจะมีจุดหลอมเหลวที่เด่นชัดและอุณหภูมิที่ของแข็งชนิดนี้หลอมตัวอยู่ในช่วงที่แคบ<ref>http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/378-?groupid=142</ref>


==แหล่งข้อมูล==
==แหล่งข้อมูล==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:17, 4 ธันวาคม 2559

กลศาสตร์ภาวะต่อเนื่อง
สมการนาเวียร์-สโตกส์

ของแข็ง (อังกฤษ: Soild) เป็นสถานะหนึ่งในสี่ของสถานะพื้นฐานของสสาร (สถานะอื่นได้แก่ ของเหลว แก๊ส พลาสมา) ซึ่งมีลักษณะที่สามารถทนและต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่วงหรือปริมาตร แตกต่างกับของเหลว วัตถุที่เป็นของแข็งไม่สามารถไหลได้และไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างและปริมาตรไปตามภาชนะที่บรรจุ อะตอมภายในโมเลกุลของของแข็งอยู่ชิดกันมากและมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่หนาแน่นกับอนุภาคอื่น ๆ

สาขาของฟิสิกส์มีสาขาหนึ่งที่มีเพื่อศึกษาของแข็งโดยเฉพาะ เรียกว่าฟิสิกส์ของแข็งและมันยังเป็นสาขาหลักของฟิสิกส์สสารอัดแน่น (ซึ่งจะมีการศึกษาเกี่ยวกับของเหลวรวมอยู่ด้วย)

ของแข็งที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุดในโลกคือ ซิลิกานาโนโฟม (silica nanofoam) มีความหนาแน่นประมาณ 1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่าความหนาแน่นของอากาศ เป็นผลิตภัณฑ์ของแอโรเจล (aerogel) ที่ดูดอากาศออก

ประเภทของของแข็ง

ของแข็งมีแรงระหว่างอะตอมที่สามารถทำให้เกิดของแข็งหลายรูปแบบ เช่น ผลึกของโซเดียมคลอไรด์(เกลือทั่วไป) ซึ่งประกอบด้วยโซเดียมไอออนและคลอรีนจับรวมกันโดยพันธะไอออนิก ส่วนเพชรหรือซิลิคอนใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นพันธะโคเวเลนต์ในโลหะ ของแข็งบางชนิดโดยเฉพาะสารอินทรีย์จะถูกยึดโมเลกุลเข้าด้วยกันด้วยแรงเวนเดอร์วาลส์ที่เกิดจากการโพลาไรเซชัน ทำให้ของแข็งที่ได้มีความแตกต่างกัน ได้แก่

1.ของแข็งอสันฐาน(Amorphous solid)

การจัดเรียงอนุภาคภายในไม่เป็นระเบียบ มีรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อแตกหักจะได้ชิ้นส่วนที่ไม่เป็นทรงเรขาคณิต หรือเมื่อได้รับความร้อนปริมาณมากพอจะค่อย ๆ อ่อนตัวกลายเป็นของเหลวและไหลได้ ของแข็งประเภทนี้ส่วนใหญ่ไม่สามารถหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนได้[1]

2.ของแข็งที่เป็นผลึก(Crystalline solid)

มีการจัดเรียงอนุภาคอย่างเป็นระเบียบ มีเหลี่ยม มีมุม


สมบัติของของแข็ง

โดยทั่วไปของแข็งมีคุณสมบัติดังนี้

1. ปริมาตรคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับขนาดภาชนะที่บรรจุ

2. มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามรูปร่างของภาชนะ

3. มีอนุภาคอยู่ชิดติดกันอย่างมีระเบียบ

4. สามารถระเหิดได้

โมเลกุลของสารในสถานะของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก ของแข็งจึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าในสถานะของเหลว ทำให้ของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรแน่นอน ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ โมเลกุลของของแข็งเคลื่อนที่ไม่ได้ แตก็มีการสั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา

การเปลี่ยนสถานะของของแข็ง

1. การหลอมเหลว (melting) คือ กระบวนการที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิหนึ่งขณะที่ของแข็งหลอมเหลวอุณหภูมิจะคงที่เรียกว่า จุดหลอมเหลวของแข็งบริสุทธิ์ต่างชนิดกันมีจุดหลอมเหลวต่างกันเพราะของแข็งแต่ละชนิดมีแรงยึดเหนี่ยวแตกต่างกันและจุดหลอมเหลวเป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารที่เป็นของแข็ง

2. การระเหิด (sublimation) คือ กระบวนการที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นไอ โดยไม่ต้องเปลี่ยนเป็นของเหลวก่อน ส่วนมากของแข็งที่ระเหิดได้เป็นของแข็งที่อนุภาคมีแรงยึดเหนี่ยวกันน้อยเช่นลูกเหม็น (แนพทาลีน) การบูร ไอโอดีน น้ำแข็งแห้ง(co2(s))

ปัจัยที่มีผลต่อการระเหิดของของแข็ง

1. อุณหภูมิ ณ อุณหภูมิสูงของแข็งระเหิดได้มากกว่าที่อุณหภูมิต่ำ

2. พื้นที่ผิวของของแข็ง ของแข็งที่มีพื้นที่ผิวหน้ามากจะเหิดได้ดีกว่า ของแข็งที่มีพื้นที่ผิวหน้าน้อย

3. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค ของแข็งใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยจะระเหิดได้จ่าย แต่ถ้ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากขึ้นจะระเหิดได้ช้า[2][3]

การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง

ธาตุต่างๆ บางชนิดในธรรมชาติจะมีการจัดเรียงตัวของอะตอมในรูปของโมเลกุลได้หลายรูปแบบ เราเรียกว่าอัญรูป (allotrope) ของธาตุเช่นกำมะถันมีโครงสร้างผลึกเป็นรอมบิก(rhombic) และมอนอคลินิก(monoclinic)การที่สารสามารถเปลี่ยนโครงสร้างจากแบบหนึ่งไปอีกแบบหนึ่งได้ภายใต้ภาวะอุณหภูมิ และความดันค่าหนึ่ง เราเรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดแทรนซิชัน (transition point) สามารถแบ่งตามลักษณะการจัดเรียงอนุภาคขอฃสารได้ 2 ชนิด

1.ของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก (crystalline solid)

1.1 โครงสร้างผลึก (crystal structure) ของวัสดุ เรามักจะนึกถึงอะตอมหรือไอออนในรูปของทรงกลมที่จัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบในระบบโครงข่ายสามมิติ หรือที่เรียกว่า แลตทิซ (lattice) จุดตัดบนโครงข่ายสามมิตินี้เรียกว่า จุดแลตทิซ (lattice point) ซึ่งแสดงถึงอะตอมของในโครงข่าย แต่ละส่วนย่อยที่จัดเรียงตัวซ้ำๆกันในแลตทิซเรียกว่า ยูนิตเซลล์ (unit cell) ซึ่งกำหนดด้วยความยาวแต่ละด้าน a,b,c

1.2 ยูนิตเซลล์มีทั้งหมด 7 แบบ แต่ละแบบมีความยาวของแต่ละด้านและมุมที่ด้านประกอบกันแตกต่างกันออกไป เราเรียกยูนิตเซลล์ทั้ง 7 แบบนี้ว่า ระบบผลึก (crystal system) ยกตัวอย่างเช่น ระบบผลึกคิวบิก (cubic) เป็นระบบผลึกที่แต่ละด้านมีความยาวเท่ากันและทำมุมกัน 90 องศา หรือ ระบบผลึกออร์โธรอมบิก (orthorhombic) ที่แต่ละด้านทำมุมกัน 90 องศา แต่ว่ามีความยาวไม่เท่ากัน

2.ของแข็งอสัณฐาน (amorphous solid)

ของแข็งที่อนุภาคอยู่ปะปนกันอย่างไม่เป็นระเบียบ ไม่มีรูปร่างที่แน่นอนเช่น แก้ว โพลิเมอร์ ยางธรรมชาติ ฯลฯ มีสมบัติทั่วๆ ไปคล้ายผลึก แตกต่างกันที่ไม่มีรูปทรงเรขาคณิตที่แน่นอน ดังนั้นจึงมีสมบัติที่เรียกว่า isotropy คือ ค่าดรรชนีหักเห การนําไฟฟ่า และคุณสมบัติอื่นๆ จะเหมือนกันหมดทุกทิศทาง [4]


ชนิดของผลึก

ผลึกของของแข็ง แบ่งเป็น 4 ชนิด คือ

1. ผลึกโมเลกุล (Molecular crystal) อนุภาคของผลึกประเภทนี้อาจเป็นอะตอมหรือโมเลกุล แรงดึงดูดระหว่างอนุภาคอาจเป็นแรงดึงดูดระหว่างขั้วของโมเลกุล หรือเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ ประเภทแรงลอนดอน เช่น แนฟทาลีน น้ำแข็งแห้ง สำหรับของแข็งที่เป็นโมเลกุลมีขั้วจะยึดด้วยแรงดึงดูดระหว่างขั้วหรือพันธะไฮโดรเจน ของแข็งที่เป็นผลึกโมเลกุลโดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะค่อนข้างอ่อนหรือแข็งปานกลางมีจุดหลอมเหลวต่ำไม่นำไฟฟ้า ในกรณีของผลึกที่ประกอบด้วยโมเลกุลไม่มีขั้วบางชนิดจะเกิดการระเหิดได้ง่าย เช่น แนฟทาลีน

2. ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย (Covalent crystal) อนุภาคของผลึกประเภทนี้จะเป็นอะตอม มีการยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ เช่น เพชร อะตอมองค์ประกอบแต่ละอะตอมจะยึดเหนี่ยวกับอะตอมข้างเคียงสีอะตอมด้วยพันธะโคเวเลนต์ที่แข็งแรง ผลึกประเภทนี้มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดที่สูงมาก มีความดันไอต่ำ และไม่ละลายตัวในสารละลายใดๆ มีความแข็ง แต่ความแข็งจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการจัดเรียงตัวของอะตอมในโครงผลึกร่างตาข่าย ตัวอย่างที่พบบ่อยๆ คือ เพชร และแกรไฟต์

3. ผลึกโลหะ(Metallic crystal) ประกอบด้วยอะตอมที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโลหะที่แข็งแรงมาก อนุภาคของผลึกประเภทนี้จะเป็นไอออนบวกที่อยู่ท่ามกลางเวเลนต์อิเล็กตรอนแต่ละอิเล็กตตรอนเคื่อนที่ได้อย่างอิสระทั่วทั้งก้อนของโลหะผลึกประเภทนี้มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง นำไฟฟ้าได้ดี ดึงให้เป็นแผ่นและตีเป็นเส้นได้ง่าย ตัวอย่าง โลหะโดยทั่วไป เช่น เหล็ก เงิน และทองคำ เป็นต้น อย่างไรก็ตามผลึกโลหะทั้งหมดอาจมีสมบัติไม่สอดคล้องทุกประการที่กล่าวมา เช่น ตะกั่ว ซึ่งนำไฟฟ้าได้ไม่ดี และผลึกโลหะบางชนิดที่มีลักษณะค่อนข้างอ่อน มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ เช่น โพแทสเซียม โซเดียม

4. ผลึกไอออนิก (Ionic crystal) อนุภาคของผลึกประเภทนี้จะเป็นไอออนบวกและไอออนลบเรียงตัวสลับกันไปในลักษณะสามมิติ แข็งแต่เปราะ มีจุดหลอมเหลวแลจุดเดือดสูง ขณะเป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้าแต่เมื่อหลอมเหลวหรืออยู่ในรูปสารละลายจะสามารถนำไฟฟ้าได้ ตัวอย่างที่พบบ่อยๆ ได้แก่ สารประกอบออกไซด์ของโลหะหมู่ 1 และหมู่ 2 เกลือเฮไลด์ของโลหะ

ของแข็งที่ไม่มีรูปผลึก เรียกว่า ของแข็งอสัณฐาน เช่น วัสดุที่ทำมาจากแก้ว ยาง หรือพลาสติก ซึ่งการจัดเรียงอนุภาคภายในไม่เป็นระเบียบ เมื่อแตกหักจะได้ชิ้นส่วนที่มีลักษณะไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิต หรือเมื่อได้รับความร้อนปริมาณมากพอจะค่อยๆ อ่อนตัวกลายเป็นของเหลวและไหลได้ ของแข็งประเภทนี้ส่วนใหญ่ไม่สามารถหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนได้ แต่มีบางชนิด เช่น แก้ว เมื่อใช้อุปกรณ์ที่มีลักษณะเฉพาะจะสามารถหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนได้


การเปลี่ยนสถานะของของแข็ง

1. การหลอมเหลว (melting)

เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็งจะมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น ทำให้อนุภาคมีการสั่นมากขึ้น และมีการถ่ายโอนพลังงานให้แก่อนุภาคข้างเคียงอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งบางอนุภาคของของแข็งมีพลังงานสูงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค อนุภาคของของแข็งจึงเริ่มเคลื่อนที่และอยู่ห่างกันมากขึ้น ของแข็งจึงเกิดการเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว (melting) และเรียกอุณหภูมิในขณะที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวที่ความดันหนึ่งบรรยากาศว่า จุดหลอมเหลว (melting point) เช่น การหลอมเหลวของน้ำแข็ง

2. การระเหิด (Sublimation)

การระเหิดของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสารชนิดที่ไม่มีขั้วหรือมีขั้วน้อยมาก และมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces) อย่างอ่อน เช่น แรงลอนดอน (London forces) เมื่ออนุภาคของสารได้รับความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อย จะทำให้อนุภาคของสารนั้นแยกออกจากผลึก โดยเฉพาะอนุภาคที่อยู่บริเวณผิวหน้าของผลึกจะหลุดออกและเคลื่อนที่เป็นอิสระได้ง่าย เช่น การระเหิดของไอโอดีน การระเหิดของแนฟทาลีน การะบูร เมนทอล เป็นต้น หรือ การระเหิด (sublimation หรือ primary drying) คือปรากฏการณ์ที่สสารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นไอหรือก๊าซ ที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดหลอมเหลว โดยไม่ผ่านสถานะของเหลวโมเลกุลของสารในสถานะของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก ของแข็งจึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าในสถานะของเหลว ทำให้ของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรแน่นอน ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ โมเลกุลของของแข็งเคลื่อนที่ไม่ได้ แต่ก็มีการสั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา

แหล่งข้อมูล

  1. http://www.promma.ac.th/main/chemistry/solid_liquid_gas/amorphous.htm
  2. http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/3/gas/gas/data1.htm
  3. https://biwba.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/
  4. https://enchemcom2g.wordpress.com/solid/