ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์ตองอู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
from wiki english
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| region = เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
| region = เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
| country = พม่า
| country = พม่า
| era =
|era =
|status = จักรวรรดิ
| status = ราชอาณาจักร
| event_start = สถาปนาราชวงศ์
|event_start = เอกราชจากอังวะ
| year_start = .ศ. 2029
|year_start = .ศ. 1510
| date_start = 2029
|date_start = 16 ตุลาคม
| event_end = กรุงอังวะแตก
|event_end = ราชวงศ์ล่มสลาย
| year_end = .ศ. 2295
|year_end = .ศ. 1752
| date_end = เม.ย. 2295
|date_end = 23 มีนาคม
|event_pre = {{nowrap|ก่อตั้งราชวงศ์}}
| event1 = พิชิตพม่าตอนล่าง
|date_pre = ค.ศ. 1485
| date_event1 = 2078-2084
|event1 = {{nowrap|เริ่มจักรวรรดิตองอู}}
| event2 = พระเจ้าบุเรงนองขยายอำนาจ
|date_event1 = ค.ศ. 1510 – ค.ศ. 1599
| date_event2 = 2094-2124
|event2 = {{nowrap|ฟื้นฟูจักรวรรดิตองอู}}
| event3 = อาณาจักรแตกสลาย
|date_event2 = ค.ศ. 1599 – ค.ศ. 1752
| date_event3 = 2142
|event3 =
| event4 = ยุคฟื้นฟูอาณาจักร
|date_event3 =
| date_event4 = 2142-2158
|event4 =
| event5 =
|date_event4 =
| date_event5 =
| p1 = อาณาจักรอังวะ
|p1 = อาณาจักรอังวะ
| flag_p1 =
|flag_p1 =
| p2 = อาณาจักรหงสาวดี
|p2 = อาณาจักรหงสาวดี
| flag_p2 =
|flag_p2 =
|p3 = รัฐฉาน
| s1 = ราชวงศ์อลองพญา
|flag_p3 =
| s2 =
|p4 = ล้านนา
| flag_s1 = Flag of Burma (Alaungpaya Dynasty).svg
|flag_p4 =
| flag_s2 =
|p5 = สยาม
| image_flag =
|flag_p5 =
| flag =
|p6 = ล้านช้าง
| flag_type =
|flag_p6 =
| image_coat =
|p7 = มณีปุระ
| image_map = Map of Taungoo Empire (1580).png
|flag_p7 =
| symbol =
|s1 = ราชวงศ์คองบอง
| symbol_type =
|flag_s1 = Flag_of_the_Alaungpaya_Dynasty_of_Myanmar.svg
| image_map_caption = [[แผนที่]]แสดงอาณาเขตของอาณาจักรตองอู ในปี [[ค.ศ. 1572]]
|s2 = สยาม
| capital = [[ตองอู]] (1486-1539) <br />[[หงสาวดี]] (1539-1599) <br />[[อังวะ]] (1599-1613)<br />[[หงสาวดี]] (1613-1635)<br />[[อังวะ]] (1635-1752)
|flag_s2 =
| common_languages = [[ภาษาพม่า]]
|s3 = ล้านช้าง
| religion = [[พุทธศาสนา]][[นิกายเถรวาท]]
|flag_s3 =
| government_type = สมบูรณาญาสิทธิราชย์
|s4 = มณีปุระ
| leader1 = [[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]
|flag_s4 =
| year_leader1 = 1531-1550
|image_flag =
| leader2 = [[พระเจ้าบุเรงนอง]]
|flag =
| year_leader2 = 1551-1581
|flag_type =
| leader3 = [[พระเจ้าอโนเพตลุน]]
|image_coat =
| year_leader3 = 1605-1628
|image_map = Map of Taungoo Empire (1580).png
| leader4 = [[พระเจ้าทาลุน]]
|symbol =
| year_leader4 = 1629-1648
|symbol_type =
| leader5 =
|image_map_caption = แผนที่จักรวรรดิตองอูช่วงรุ่งเรืองสูงสุด (1580)
| year_leader5 =
|capital = [[ตองอู]] (1510–39) <br>[[หงสาวดี]] (1539–99) <br> [[อังวะ]] (1599–1613) <br> หงสาวดี (1613–35) <br> อังวะ (1635–1752)
| stat_year1 = พ.ศ. 2178
|common_languages = ทางการ<br>[[ภาษาพม่า]]
| stat_pop1 = 2,000,000
{{hidden |style=font-size:110%;padding:0.25em 0 0; |headerstyle=text-align:left;font-weight:normal;
| currency =
|header = ภูมิภาค
| legislature =
|content = {{raise|0.25em |{{unbulleted list | [[ภาษาไทย]], [[ภาษามอญ]], [[ภาษาเขมร]] <small>([[อาณาจักรอยุธยา]])</small> | [[ภาษามอญ]] <small>(พม่าตอนล่าง)</small> | [[ภาษาไทใหญ่]] <small>([[รัฐฉาน]])</small> | [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ]] <small>([[ล้านนา]])</small> | [[ภาษาลาว]] <small>([[ล้านช้าง]])</small> | [[ภาษามณีปุระ]] <small>([[มณีปุระ]])</small>}} }}
}}
|religion = ทางการ<br>พุทธศาสนา[[เถรวาท]]
{{hidden |style=font-size:110%;padding:0.25em 0 0; |headerstyle=text-align:left;font-weight:normal;
|header = ส่วนน้อย
|content = {{raise|0.25em |{{unbulleted list | ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ | [[ศาสนาคริสต์]] | [[ศาสนาฮินดู]] | [[ศาสนาอิสลาม]] }} }}
}}
|government_type = ราชาธิปไตย
|title_leader = พระมหากษัตริย์
|leader1 = [[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]
|year_leader1 = ค.ศ. 1530–50
|leader2 = [[พระเจ้าบุเรงนอง]]
|year_leader2 = ค.ศ. 1550–81
|leader3 = [[พระเจ้าอโนเพตลุน]]
|year_leader3 = ค.ศ. 1605–28
|leader4 = [[พระเจ้าทาลุน]]
|year_leader4 = ค.ศ. 1629–48
|leader5 = [[พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี]]
|year_leader5 = ค.ศ. 1733–52
|stat_year1 = ค.ศ. 1580
|stat_area1 = 1550000
|stat_pop1 = 6000000
|stat_year2 = ค.ศ. 1650
|stat_area2 = 750000
|stat_pop2 = 3000000
|currency = [[จัต]]
|legislature = [[รัฐสภาแห่งสหภาพ]]
|today =
{{hidden | style=font-size:110%;padding:0.25em 0 0; | headerstyle=text-align:left;font-weight:normal;
|header = &nbsp;
|content = {{raise|0.25em |{{unbulleted list | {{flag|กัมพูชา}} | {{flag|จีน}} | {{flag|อินเดีย}} | {{flag|ลาว}} | {{flag|พม่า}} | {{flag|ไทย}} | {{flag|เวียดนาม}} }} }}
}}
}}
}}
{{ประวัติศาสตร์พม่า}}
{{ประวัติศาสตร์พม่า}}
บรรทัด 159: บรรทัด 191:
|-
|-
|}
|}

== ดูเพิ่ม ==
* [[พระเจ้าตองอู]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
* Victor B. Lieberman, "Burmese Administrative Cycles: Anarchy and Conquest, c. 1580–1760", Princeton University Press, 1984.


[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์พม่า]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์พม่า]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:08, 22 พฤศจิกายน 2559

ราชวงศ์ตองอู

ေတာင္ငူေခတ္
ค.ศ. 1510–ค.ศ. 1752
แผนที่จักรวรรดิตองอูช่วงรุ่งเรืองสูงสุด (1580)
แผนที่จักรวรรดิตองอูช่วงรุ่งเรืองสูงสุด (1580)
สถานะจักรวรรดิ
เมืองหลวงตองอู (1510–39)
หงสาวดี (1539–99)
อังวะ (1599–1613)
หงสาวดี (1613–35)
อังวะ (1635–1752)
ภาษาทั่วไปทางการ
ภาษาพม่า
ศาสนา
ทางการ
พุทธศาสนาเถรวาท
ส่วนน้อย
การปกครองราชาธิปไตย
พระมหากษัตริย์ 
• ค.ศ. 1530–50
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
• ค.ศ. 1550–81
พระเจ้าบุเรงนอง
• ค.ศ. 1605–28
พระเจ้าอโนเพตลุน
• ค.ศ. 1629–48
พระเจ้าทาลุน
• ค.ศ. 1733–52
พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี
สภานิติบัญญัติรัฐสภาแห่งสหภาพ
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้งราชวงศ์
ค.ศ. 1485
• เอกราชจากอังวะ
16 ตุลาคม ค.ศ. 1510
• เริ่มจักรวรรดิตองอู
ค.ศ. 1510 – ค.ศ. 1599
• ฟื้นฟูจักรวรรดิตองอู
ค.ศ. 1599 – ค.ศ. 1752
• ราชวงศ์ล่มสลาย
23 มีนาคม ค.ศ. 1752
พื้นที่
ค.ศ. 15801,550,000 ตารางกิโลเมตร (600,000 ตารางไมล์)
ค.ศ. 1650750,000 ตารางกิโลเมตร (290,000 ตารางไมล์)
ประชากร
• ค.ศ. 1580
6000000
• ค.ศ. 1650
3000000
สกุลเงินจัต
ก่อนหน้า
ถัดไป
อาณาจักรอังวะ
อาณาจักรหงสาวดี
รัฐฉาน
ล้านนา
สยาม
ล้านช้าง
มณีปุระ
ราชวงศ์คองบอง
สยาม
ล้านช้าง
มณีปุระ
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ

ราชวงศ์ตองอู (อังกฤษ: Toungoo Dynasty; พม่า: တောင်ငူခေတ်, [tàuɴŋù kʰɪʔ]) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน

พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมือง ตองอู ขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า

ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูเป็นหงสาวดี

ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่อตองอู หงสาวดี ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2 - 3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์

ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู หงสาวดี ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ"

แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมือง ได้ประกาศอิสรภาพและทำสงครามรบพุ่งกับหงสาวดีตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป

และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามก็ตามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา

ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือ ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญา

ลำดับกษัตริย์ในราชวงศ์ตองอู[1]

ลำดับที่ พระฉายาลักษณ์ พระนาม ระยะเวลาในราชสมบัติ
1 พระเจ้าเมงจีโย พ.ศ. 2029 - 2074
2 พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พ.ศ. 2074 - 2094
3 พระเจ้าบุเรงนอง พ.ศ. 2094 - 2124
4 พระเจ้านันทบุเรง พ.ศ. 2124 - 2142
5 พระเจ้านยองยาน พ.ศ. 2142 - 2148
6 พระเจ้าอโนเพตลุน พ.ศ. 2148 - 2171
7 พระเจ้ามินแยไดกปา พ.ศ. 2171 - 2172
8 พระเจ้าทาลุน พ.ศ. 2172 - 2191
9 พระเจ้าพินดาเล พ.ศ. 2191 - 2204
10 พระเจ้าปเย พ.ศ. 2204 - 2215
11 พระเจ้านราวาระ พ.ศ. 2215 - 2216
12 พระเจ้ามังกะยอดิน พ.ศ. 2216 - 2241
13 พระเจ้าสเน่ห์มิน พ.ศ. 2241 - 2257
14 พระเจ้าทนินกันเว พ.ศ. 2257 - 2276
15 พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี พ.ศ. 2276 - 2295

อ้างอิง

  • Victor B. Lieberman, "Burmese Administrative Cycles: Anarchy and Conquest, c. 1580–1760", Princeton University Press, 1984.