ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมชาย แสวงการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 38: บรรทัด 38:


== ประสบการณ์การทำงาน ==
== ประสบการณ์การทำงาน ==
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 31 กรกฎาคม 2557[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]<ref>[http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/1_11.pdf ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ], สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ใช้เว็บไซค์ของวุฒิสภา), 1 สิงหาคม 2557</ref>
*นายกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 2 สมัย
*โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการวุฒิสภา
*ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์คระกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่องทุจริต และเสริมสร้างธรรมภิบาล วุฒิสภา
*โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาติดตามการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการเกี่ยวกับพิทักษ์สถาบันพระมหากษตริย์
*โฆษกคณะกรรมาธิการสามัญศึกษาการบังคับใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
*กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการวุฒิสภา
*ประธานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา
*สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549-2551
*บรรณาธิการข่าว สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 อสมท.
*กรรมการมูลนิธิสำนึกรักบ้านเกิด และมูลนิธิร่วมด้วยช่วยกัน
*กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอเอ็นเอ็นเรดิโอ จำกัด และผู้อำนวยการวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน
*ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจำคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ วุฒิสภา


-เลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ในปี พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิก[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]<ref>[http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/1_11.pdf ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ], สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ใช้เว็บไซค์ของวุฒิสภา), 1 สิงหาคม 2557</ref>
-รองประธานคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ คนที่สาม
-กรรมาธิการคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารมวลชน
สมาชิกวุฒิสภา 2554-2557
-โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการวุฒิสภา
-โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาติดตามการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการเกี่ยวกับพิทักษ์สถาบันพระมหากษตริย์
สมาชิกวุฒิสภา 2551-2554
-ประธานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา
นายกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 2 สมัย
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอเอ็นเอ็นเรดิโอ จำกัด และผู้อำนวยการวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน
บรรณาธิการข่าว สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 อสมท.
กรรมการมูลนิธิสำนึกรักบ้านเกิด และมูลนิธิร่วมด้วยช่วยกัน


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:11, 10 พฤศจิกายน 2559

สมชาย แสวงการ
ไฟล์:สมชายแสวง.JPG
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด12 เมษายน พ.ศ. 2505 (62 ปี)

สมชาย แสวงการ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

ประวัติ

นายสมชาย แสวงการ เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2505 จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดราชบพิธ กรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท สาขาพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,ปริญญาบัตร วปอ.รุ่นที่ 58 ประจำปีการศึกษา 2558-2559

การทำงาน

สมชาย ทำงานเป็นบรรณาธิการและผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจ สายการเมือง และสายทหาร ทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 จนกระทั่งเป็นผู้ก่อตั้ง และกรรมการผู้จัดการกลุ่มไอ.เอ็น.เอ็น.กรุ๊ป ร่วมกับนายสนธิญาณ หนูแก้ว (สนธิยาณ ชื่นในญทัยธรรม) ที่ถือหุ้นใหญ่โดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และกลุ่มบริษัทยูคอม (1) เป็นผู้ผลิตรายการร่วมด้วยช่วยกัน ได้รับสิทธิจากหน่วยบัญชาการกำลังสำรองในการเข้ามาบริหารและผลิตรายการ “ร่วมด้วยช่วยกัน” เป็นระยะเวลากว่า 10 ปี ตั้งแต่วันที่ ธันวาคม 2540 จนถึงปัจจุบัน โดยออกอากาศทางสถานีวิทยุกรมรักษาดินแดนเอฟเอ็ม 96 เมกกะเฮิร์ซ (2) และเป็นเจ้าของสำนักข่าวไอ.เอ็น.เอ็น. ธุรกิจสิ่งพิมพ์ นายสมชายเคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 2 สมัยติดต่อกัน จนกระทั่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จากสายวิชาชีพสื่อมวลชนในปี พ.ศ. 2549 พร้อมกับนายกสมาคมองค์กรสื่อต่างๆ นายสมชายตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งนายกสมาคมฯ หลังได้รับการแต่งตั้งเป็น สนช. เพื่อเป็นการรักษาระยะห่างระหว่างการทำหน้าที่สมาชิกสภานิติบัญญัติและการทำงานของสมาคมฯ ในฐานะองค์กรวิชาชีพสื่อวิทยุโทรทัศน์ที่จะต้องติดตามและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลและฝ่ายต่างๆ ในสังคมได้โดยอิสระ พ.ศ. 2551 ได้รับการสรรหาให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาสรรหา โดยมูลนิธิสำนึกรักบ้านเกิดเป็นผู้ส่งเข้ารับการสรรหา เป็นประธานคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนเสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภควุฒิสภา พ.ศ. 2554 ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา เป็นสมัยที่ 2 และปัจจุบันได้รับการเสนอชื่อเข้ารับตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัตแห่งชาติ เป็นสมัยที่ 2 เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ดำรงตำแหน่งเลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

การอบรมและสัมมนา

  • หลักสูตร ประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 5 จาก สถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตร วุฒิบัตรการบริหารจัดการภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 7 จาก สถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตร สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม
  • หลักสูตร ประกาศนียบัตรและเข็มวิทยฐานะ ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ (บ.ย.ส.14) จาก วิทยาลัยการยุติธรรม
  • หลักสูตร หลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (นธป.) รุนที่ 3 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ

ประสบการณ์การทำงาน

สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 31 กรกฎาคม 2557[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]][1]

-เลขานุการคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ -รองประธานคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ คนที่สาม -กรรมาธิการคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารมวลชน สมาชิกวุฒิสภา 2554-2557 -โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการวุฒิสภา -โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาติดตามการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการเกี่ยวกับพิทักษ์สถาบันพระมหากษตริย์ สมาชิกวุฒิสภา 2551-2554 -ประธานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา นายกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย 2 สมัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอเอ็นเอ็นเรดิโอ จำกัด และผู้อำนวยการวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน บรรณาธิการข่าว สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 อสมท. กรรมการมูลนิธิสำนึกรักบ้านเกิด และมูลนิธิร่วมด้วยช่วยกัน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง