ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อสมการในกลศาสตร์ดั้งเดิม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KittapatR (คุย | ส่วนร่วม)
KittapatR (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 192: บรรทัด 192:
|}
|}
ทุกการอนุรักษ์พลังงานต้องมีพลังงานศักย์อยู่ โดยสองหลักการต่อไปนี้สามารถให้ค่าคงที่ไม่สัมพัทธ์กับ ''U'' จะได้ว่า
ทุกการอนุรักษ์พลังงานต้องมีพลังงานศักย์อยู่ โดยสองหลักการต่อไปนี้สามารถให้ค่าคงที่ไม่สัมพัทธ์กับ ''U'' จะได้ว่า
* ถ้าแรงที่กระทำเป็นศูนย์ พลังงานศักย์จะมีค่าเท่ากับศูนย์
* ถ้าแรงที่กระทำถูกเปลี่ยนเป็นงาน พลังงานศักย์จะหายไป


=== กลศาสตร์ทั่วไป ===
ถ้าแรงที่กระทำเป็นศูนย์ พลังงานศักย์จะมีค่าเท่ากับศูนย์
{{บทความหลัก|กลศาสตร์เชิงวิเคราะห์|กลศาสตร์แบบลากรางจ์|กลศาสตร์แฮมิลตัน}}


== จลน์ศาสตร์ ==
ถ้าแรงที่กระทำถูกเปลี่ยนเป็นงาน พลังงานศักย์จะหายไป

== พลศาสตร์ ==

== พลังงาน ==

== สมการของออยเลอร์สำหรับพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง ==

== การเคลื่อนที่ทั่วไปบนระนาบ ==

== สมการการเคลื่อนที่ (ความเร่งคงที่) ==

== การแปลงกรอบอ้างอิงแบบกาลิเลโอ ==

== เครื่องกลแบบแกว่ง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:18, 1 ตุลาคม 2559

กลศาสตร์ดั้งเดิมเป็นหนึ่งในสาขาของฟิสิกส์ที่อธิบายถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุขนาดใหญ่ ทฤษฎีของกลศาสตร์ดั้งเดิมเป็นสิ่งที่คนคุ้นเคยที่สุดในฟิสิกส์ทั้งหมด โดยแนวคิดจะครอบคลุมถึงมวล ความเร่ง และ แรง ซึ่งเป็นสิ่งที่ใช้เป็นปกติและเป็นที่รู้จัก สาขานี้ถูกขึ้นกับปริภูมิยูคลิดสามมิติด้วยแกนคงที่ เรียกว่ากรอบอ้างอิง โดยจุดตัดของแกนทั้งสามเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่าจุดกำเนิดของปริภนา

กลศาสตร์ดั้งเดิมมีการใช้สมการจำนวนมาก และแนวคิดทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยปริมาณทางฟิสิกส์หลายอย่างกับสิ่งอื่น สิ่งเหล่านี้ประกอบด้วยสมการเชิงอนุพันธ์ แมนิโฟลด์ (Manifolds) ลีกรุ๊ป (Lie groups) และทฤษฎีเออร์กอดิก (Ergodic theory)

บทความนี้เป็นบทความที่รวบรวมสมการจากกลศาสตร์นิวตัน ดังนั้นสำหรับกลศาสตร์ดั้งเดิมที่มีความทั่วไปของสมการมากกว่ากลศาสตร์นิวตัน สามารถดูได้ที่กลศาสตร์เชิงวิเคราะห์ (ซึ่งรวมไปถึงกลศาสตร์แบบลากรางจ์ และ กลศาสตร์แฮมิลตัน)

กลศาสตร์ดั้งเดิม

มวลและปริมาตร

ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) สัญลักษณ์ (ทั่วไป) สมการนิยาม หน่วยเอสไอ มิติ
ความหนาแน่นเชิงเส้น, เชิงพื้นผิว, เชิงปริมาตร λ หรือ μ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสวนศาสตร์) สำหรับเชิงเส้น σ สำหรับเชิงพื้นผิว และ ρ สำหรับเชิงปริมาตร

กิโลกรัม เมตร-n สำหรับ n = 1,2,3 [M][L]-n
โมเมนต์ของมวล m (ไม่มีสัญลักษณ์ทั่วไป) มวลของจุด

มวลไม่ต่อเนื่องบนแกน

มวลต่อเนื่องบนแกน

กิโลกรัม เมตร [M][L]
จุดศูนย์มวล rcom (มีสัญลักษณ์ค่อนข้างเยอะ) โมเมนต์ของมวลที่ i คือ

มวลไม่ต่อเนื่อง

มลวต่อเนื่อง

เมตร [L]
มวลลดทอนของสองวัตถุ m12, μ

และมีส่วนของมวลคือ m1 และ m2

กิโลกรัม [M]
โมเมนต์ความเฉื่อย I มวลไม่ต่อเนื่อง

มวลต่อเนื่อง

กิโลกรัม เมตร2 [M][L]2

ปริมาณเชิงอนุพันธ์จลนศาสตร์

ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) สัญลักษณ์ (ทั่วไป) สมการนิยาม หน่วยเอสไอ มิติ
ความเร็ว v เมตร วินาที-1 [L][T]-1
ความเร่ง a เมตร วินาที-2 [L][T]-2
ความกระตุก j เมตร วินาที-3 [L][T]-3
ความเร็วเชิงมุม ω เรเดียน วินาที-1 [T]-1
ความเร่งเชิงมุม α เรเดียน วินาที-2 [T]-2

ปริมาณเชิงอนุพันธ์พลศาสตร์

ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) สัญลักษณ์ (ทั่วไป) สมการนิยาม หน่วยเอสไอ มิติ
โมเมนตัม p กิโลกรัม เมตร วินาที-1 [M][L][T]-1
แรง F นิวตัน = กิโลกรัม เมตร วินาที-2 [M][L][T]-2
การดล J, Δp, I กิโลกรัม เมตร วินาที-1 [M][L][T]-1
โมเมนตัมเชิงมุมรอบตำแหน่งจุด r0 L, J, S

ส่วนใหญ่แล้ว เราสามารถให้ ถ้าอนุภาคโคจรรอบแกนที่ตัดกับจุดเดียว

กิโลกรัม เมตร2 วินาที-1 [M][L]2[T]-1
โมเมนต์ของแรงรอบตำแหน่งจุด r0 หรือทอร์ก τ, M นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 [M][L]2[T]-2
การดลเชิงมุม ΔL (ไม่มีสัญลักษณ์ทั่วไป) กิโลกรัม เมตร2 วินาที-1 [M][L]2[T]-1

นิยามทั่วไปของพลังงาน

ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) สัญลักษณ์ (ทั่วไป) สมการนิยาม หน่วยเอสไอ มิติ
งานที่ขึ้นกับแรงลัพธ์ W จูล = นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 [M][L]2[T]-2
งานสุดท้าย ON และ BY ของระบบเครื่องจักร WON, WBY จูล = นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 [M][L]2[T]-2
พลังงานศักย์ φ, Φ, U, V, Ep จูล = นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 [M][L]2[T]-2
กำลัง P วัตต์ = จูล วินาที-1 [M][L]2[T]-3

ทุกการอนุรักษ์พลังงานต้องมีพลังงานศักย์อยู่ โดยสองหลักการต่อไปนี้สามารถให้ค่าคงที่ไม่สัมพัทธ์กับ U จะได้ว่า

  • ถ้าแรงที่กระทำเป็นศูนย์ พลังงานศักย์จะมีค่าเท่ากับศูนย์
  • ถ้าแรงที่กระทำถูกเปลี่ยนเป็นงาน พลังงานศักย์จะหายไป

กลศาสตร์ทั่วไป

จลน์ศาสตร์

พลศาสตร์

พลังงาน

สมการของออยเลอร์สำหรับพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง

การเคลื่อนที่ทั่วไปบนระนาบ

สมการการเคลื่อนที่ (ความเร่งคงที่)

การแปลงกรอบอ้างอิงแบบกาลิเลโอ

เครื่องกลแบบแกว่ง