ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดสุพรรณบุรี"

พิกัด: 14°30′49.69″N 100°07′50″E / 14.5138028°N 100.13056°E / 14.5138028; 100.13056
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chairat1123 (คุย | ส่วนร่วม)
Chairat1123 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 198: บรรทัด 198:
|}
|}


[[ไฟล์: สุพีร์พัฒน์ จองพานิช.jpeg|100px|thumb|สุพีร์พัฒน์ จองพานิช ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี คนปัจจุบัน]]
[[ไฟล์:Chart58.jpg|500px|ทำเนียบผู้บริหารจังหวัดสุพรรณบุรี]]
[[ไฟล์:วีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี.jpeg|left|80px|thumb|วีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี]]
[[ไฟล์:พิภพ บุญธรรม.jpeg|Right|80px|thumb|พิภพ บุญธรรม รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี]]


== หน่วยการปกครอง ==
== หน่วยการปกครอง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:20, 17 กันยายน 2559

14°30′49.69″N 100°07′50″E / 14.5138028°N 100.13056°E / 14.5138028; 100.13056

จังหวัดสุพรรณบุรี
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันChangwat Suphan Buri
คำขวัญ: 
เมืองยุทธหัตถี วรรณคดีขึ้นชื่อ เลื่องลือพระเครื่อง รุ่งเรืองเกษตรกรรม สูงล้ำประวัติศาสตร์ แหล่งปราชญ์ศิลปิน ภาษาถิ่นชวนฟัง
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดสุพรรณบุรีเน้นสีแดงประเทศมาเลเซียประเทศพม่าประเทศลาวประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาจังหวัดนราธิวาสจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดพัทลุงจังหวัดกระบี่จังหวัดภูเก็ตจังหวัดพังงาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดระนองจังหวัดชุมพรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครกรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดสระแก้วจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครนายกจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดอ่างทองจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสุรินทร์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดชัยนาทจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดมหาสารคามจังหวัดขอนแก่นจังหวัดชัยภูมิจังหวัดเพชรบูรณ์จังหวัดนครสวรรค์จังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดตากจังหวัดมุกดาหารจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดเลยจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดหนองคายจังหวัดอุดรธานีจังหวัดบึงกาฬจังหวัดสกลนครจังหวัดนครพนมจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดน่านจังหวัดพะเยาจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายจังหวัดลำปางจังหวัดลำพูนจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดสุพรรณบุรีเน้นสีแดง
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดสุพรรณบุรีเน้นสีแดง
ประเทศ ไทย
การปกครอง
 • ผู้ว่าราชการ ว่าที่ร้อยตรี สุพีร์พัฒน์ จองพานิช
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2556)
พื้นที่
 • ทั้งหมด5,358.008 ตร.กม.[1] ตร.กม. (Formatting error: invalid input when rounding ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่อันดับที่ 39
ประชากร
 (พ.ศ. 2557)
 • ทั้งหมด849,053 คน[2] คน
 • อันดับอันดับที่ 28
 • อันดับความหนาแน่นอันดับที่ 24
รหัส ISO 3166TH-72
ชื่อไทยอื่น ๆสุพรรณ
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
 • ต้นไม้มะเกลือ
 • ดอกไม้สุพรรณิการ์
 • สัตว์น้ำปลาม้า
ศาลากลางจังหวัด
 • โทรศัพท์0 3540 8700, 0 3553 5376
เว็บไซต์http://www.suphanburi.go.th/
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี

กำแพงเมืองและประตูเมืองสุพรรณบุรี

 สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

ประวัติ

พระพุทธรูปวัดป่าเลไลยก์

สุพรรณบุรีเป็นเมืองโบราณ พบหลักฐานทางโบราณคดีมีอายุไม่ต่ำกว่า 3,500-3,800 ปี โบราณวัตถุที่ขุดพบมีทั้งยุคหินใหม่ ยุคสำริด ยุคเหล็ก และสืบทอดวัฒนธรรมต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ ฟูนัน อมราวดี ทวารวดี และศรีวิชัย สุพรรณบุรีเดิมมีชื่อว่า ทวารวดีศรีสุพรรณภูมิ หรือ พันธุมบุรี ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำท่าจีน แถบ บริเวณตำบลรั้วใหญ่ไปจดตำบลพิหารแดง ต่อมาพระเจ้ากาแตได้ย้ายเมืองมาตั้งอยู่ที่ฝั่งขวาของแม่น้ำ แล้วโปรดให้มอญน้อยไปสร้างวัดสนามชัย และบูรณะวัดป่าเลไลยก์ ชักชวนให้ข้าราชการจำนวน 2,000 คนบวช จึงขนานนามเมืองใหม่ว่า สองพันบุรี ครั้งถึงสมัยพระเจ้าอู่ทอง ได้สร้างเมืองมาทางฝั่งใต้หรือทางตะวันตกของแม่น้ำท่าจีน ชื่อเมืองเรียกว่า อู่ทอง จวบจนสมัยขุนหลวงพะงั่ว เมืองนี้จึงเรียกว่าชื่อว่า สุพรรณบุรี นับแต่นั้นมา

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองสุพรรณบุรีเป็นเมืองหน้าด่านและเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญ ต้องผ่านศึกสงครามหลายต่อหลายครั้ง สภาพเมืองตลอดจนโบราณสถานถูกทำลายเหลือเพียงซากปรักหักพัง จนกระทั่งถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เมืองสุพรรณบุรีได้ฟื้นตัวขึ้นใหม่ และตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำท่าจีน (ลำน้ำสุพรรณ) มาจนตราบทุกวันนี้

ความสำคัญของสุพรรณบุรีในด้านประวัติศาสตร์การกอบกู้เอกราชไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ ชัยชนะแห่งสงครามยุทธหัตถีที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงมีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา ณ สมรภูมิดอนเจดีย์ เป็นมหาวีรกรรมคชยุทธอันยิ่งใหญ่ที่ได้ถูกจารึกไว้ และมีการจัดงานเพื่อเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ทุกปี เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ ในด้านวรรณคดี เป็นเมืองต้นกำเนิดแห่งตำนาน "ขุนช้างขุนแผน" วรรณคดีไทยเรื่องราวและสถานที่ที่ปรากฏตามท้องเรื่องยังคงมีให้เห็นในปัจจุบัน อาทิ บ้านรั้วใหญ่ วัดเขาใหญ่ ท่าสิบเบี้ย ไร่ฝ้าย วัดป่าเลไลยก์ วัดแค อำเภออู่ทอง และอำเภอศรีประจันต์

สุพรรณบุรี ดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์บนพื้นที่ราบภาคกลางสืบสานความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่อดีตเมื่อ พ.ศ. 1420 จากนามเดิมเมืองพันธุมบุรีในยุคทวารวดีตามหลักฐานทางโบราณคดีได้จารึกชื่อไว้ในพงศาวดารเหนือ และนาม "สุพรรณภูมิ" ปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชระบุว่าเป็นนครรัฐที่มีความสำคัญมาก่อนกรุงศรีอยุธยา เมื่อมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เมืองสุพรรณบุรีจึงจัดอยู่ในฐานะเมืองลูกหลวงซึ่งเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญอีกด้วย

รายนามผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี (เท่าที่สืบค้นได้)

ชื่อ ช่วงเวลาดำรงตำแหน่ง
1. พระยาสุนทรสงคราม (จัน สุนทรพงษ์) พ.ศ. 2394–ไม่ทราบ
2. พระยาสุนทรสงครามรามพิไชย (แจ่ม สุนทรวิภาต) พ.ศ. 2412–2420
3. พระยาสุนทรสงครามรามพิไชย (สว่าง อมาตยกุล) พ.ศ. 2421–2425
4. พระยาสุนทรสงคราม (จัน แสงชูโต) พ.ศ. 2426–2429
5. พระยาสุนทรสงครามรามภักดี (พัน) พ.ศ. 2431–2435
6. พระยาอภัยพลภักดิ์ (ม.ล.อุกฤษ เสนีย์วงค์) พ.ศ. 2435–2439
7. พระอร่ามมณเฑียร (ม.ร.ว.ใหญ่ นรินทรกุล) พ.ศ. 2440
8. พระยาสุนทรสงคราม (ถม ณ มหาไชย) พ.ศ. 2440–2442
9. พระยาอินทรวิชิต (ทองคำ) พ.ศ. 2442–2444
10. พระยาสุนทรสงคราม (ม.ร.ว.เล็ก พยัคฆเสนา) พ.ศ. 2444–2454
11. พระยาสุนทรสงคราม (อี้ กรรณสูต) พ.ศ. 2454–2466
12. พระยาสุนทรสงคราม (ปุย สุวรรณศร) พ.ศ. 2466–2470
13. พระยาพิศาลสารเกษตร (พร พิมพสูตร) พ.ศ. 2470–2476
14. พระยารามราชภักดี (ม.ล.สวาสดิ์ อิศรางกูร) พ.ศ. 2476–2479
15. พ.ท.พระเจนกระบวนหัด (ทองคำ พรโสภณ) พ.ศ. 2479–2481
16. หลวงศรีราชรักษา (ผิว ชาครียรัตน์) พ.ศ. 2481–2485
17. นายกังวาล วงษ์สกุล พ.ศ. 2485–2486
18. ร.อ.หลวงวุฒิราษฎร์รักษา (วุฒิศรสงคราม วุฒิราษฎร์รักษา) พ.ศ. 2486–2487
19. นายอรรสิทธิ์ สิทธิสุนทร พ.ศ. 2487–2488
20. นายปรง พหูชนม์ พ.ศ. 2488–2489
21. นายชุบ พิเศษนครกิจ พ.ศ. 2489
22. ขุนธรรมรัฐธุราทร (ธรรมรัฐ โรจนสุนทร) พ.ศ. 2489–2494
23. นายสนิท วิไลจิตต์ พ.ศ. 2494–2496
24. พ.ต.อ.จำรัส โรจนจันทร์ พ.ศ. 2496–2497
25. นายพินิต โพธิ์พันธุ์ พ.ศ. 2497–2500
26. นายพัฒน์ บุณยรัตนพันธุ์ พ.ศ. 2500–2509
27. นายเวียง สาครสินธุ์ พ.ศ. 2509–2510
28. นายสวัสดิ์ มีเพียร พ.ศ. 2510–2518
29. นายสอน สุทธิสาร พ.ศ. 2518–2521
30. นายชลิต พิมลศิริ พ.ศ. 2521–2523
31. นายจรินทร์ กาญจโนมัย พ.ศ. 2523–2527
32. นายอารีย์ วงศ์อารยะ พ.ศ. 2527–2531
33. นายธานี โรจนลักษณ์ พ.ศ. 2531–2533
34. ร.ต.สมนึก เกิดเกษ พ.ศ. 2533–2534
35. ร.อ.ศรีรัตน์ หริรักษ์ พ.ศ. 2534–2535
36. นายสมพงศ์ ศรียะพันธุ์ พ.ศ. 2535–2536
37. นายอำนวย ยอดเพชร พ.ศ. 2536–2538
38. นายประเสริฐ เปลี่ยนรังสี พ.ศ. 2538–2541
39. นายวิพัฒน์ คงมาลัย พ.ศ. 2541–2546
40. นายทรงพล ทิมาศาสตร์ พ.ศ. 2546–2549
41. นายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ พ.ศ. 2549–2555
42. นายสุภัทร์ ศรีสุนทรพินิต พ.ศ. 2555–2556
43. ว่าที่ร้อยตรี สุพีร์พัฒน์ จองพานิช พ.ศ. 2556–ปัจจุบัน

ทำเนียบผู้บริหารจังหวัดสุพรรณบุรี

หน่วยการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

การปกครองแบ่งออกเป็น 10 อำเภอ 110 ตำบล 977 หมู่บ้าน

  1. อำเภอเมืองสุพรรณบุรี
  2. อำเภอเดิมบางนางบวช
  3. อำเภอด่านช้าง
  4. อำเภอบางปลาม้า
  5. อำเภอศรีประจันต์
  1. อำเภอดอนเจดีย์
  2. อำเภอสองพี่น้อง
  3. อำเภอสามชุก
  4. อำเภออู่ทอง
  5. อำเภอหนองหญ้าไซ

แผนที่

การปกครองส่วนท้องถิ่น

  1. เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี
  2. เทศบาลเมืองสองพี่น้อง
  3. เทศบาลตำบลสวนแตง
  4. เทศบาลตำบลท่าเสด็จ
  5. เทศบาลตำบลโพธิ์พระยา
  6. เทศบาลตำบลทุ่งคอก
  7. เทศบาลตำบลเขาพระ
  1. เทศบาลตำบลนางบวช
  2. เทศบาลตำบลบ่อกรุ
  3. เทศบาลตำบลเขาดิน
  4. เทศบาลตำบลด่านช้าง
  5. เทศบาลตำบลโคกคราม
  6. เทศบาลตำบลบางปลาม้า
  7. เทศบาลตำบลบ้านแหลม
  1. เทศบาลตำบลไผ่กองดิน
  2. เทศบาลตำบลศรีประจันต์
  3. เทศบาลตำบลวังยาง
  4. เทศบาลตำบลปลายนา
  5. เทศบาลตำบลดอนเจดีย์
  6. เทศบาลตำบลสระกระโจม
  7. เทศบาลตำบลสามชุก
  1. เทศบาลตำบลอู่ทอง
  2. เทศบาลตำบลจรเข้สามพัน
  3. เทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง
  4. เทศบาลตำบลสระยายโสม
  5. เทศบาลตำบลขุนพัดเพ็ง
  6. เทศบาลตำบลบ้านดอน
  7. เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ
  8. เทศบาลตำบลบ้านโพธิ์

และองค์การบริหารส่วนตำบลอีก 100 แห่ง

ประชากรในจังหวัด

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
อันดับ
(ปีล่าสุด)
อำเภอ พ.ศ. 2558[3] พ.ศ. 2557[4] พ.ศ. 2556[5] พ.ศ. 2555[6] พ.ศ. 2554[7] พ.ศ. 2553[8] พ.ศ. 2552[9] พ.ศ. 2551[10]
1 เมืองสุพรรณบุรี 167,496 167,190 166,716 166,237 165,164 165,005 164,673 164,003
2 สองพี่น้อง 127,992 127,677 127,411 127,283 127,201 127,382 126,963 127,086
3 อู่ทอง 121,950 121,617 121,421 121,157 120,634 120,834 120,428 120,125
4 บางปลาม้า 78,786 79,080 79,286 79,601 79,922 80,247 80,363 80,728
5 เดิมบางนางบวช 73,237 73,550 73,741 73,861 73,812 73,917 74,168 74,606
6 ด่านช้าง 67,554 67,339 67,011 66,606 65,970 65,977 65,606 65,046
7 ศรีประจันต์ 62,305 62,416 62,419 62,620 62,746 62,774 62,914 62,777
8 สามชุก 54,788 54,875 54,950 55,145 55,190 55,415 55,474 56,239
9 หนองหญ้าไซ 49,469 49,346 49,272 49,080 48,867 48,875 48,629 48,541
10 ดอนเจดีย์ 46,120 45,963 45,839 45,718 45,547 45,424 45,372 45,347
รวม 849,697 849,053 848,066 847,308 845,053 845,850 844,590 844,498

สภาพทางภูมิศาสตร์

ภูมิประเทศส่วนใหญ่ของสุพรรณบุรีเป็นที่ราบต่ำติดชายฝั่งแม่น้ำสุพรรณบุรี มีทิวเขาขนาดเล็กอยู่ทางเหนือและทางตะวันตก ด้านตะวันออกเฉียงใต้เป็นที่ราบลุ่มของแม่น้ำสุพรรณบุรี (แม่น้ำท่าจีน) ใช้เป็นพื้นที่ปลูกข้าว

ภูมิอากาศ

ข้อมูลภูมิอากาศของสุพรรณบุรี
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 31.7
(89.1)
33.9
(93)
35.7
(96.3)
36.9
(98.4)
35.4
(95.7)
34.2
(93.6)
33.6
(92.5)
33.3
(91.9)
32.3
(90.1)
31.5
(88.7)
30.6
(87.1)
30.3
(86.5)
33.28
(91.91)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 19.2
(66.6)
21.7
(71.1)
23.5
(74.3)
25.1
(77.2)
25.3
(77.5)
25.0
(77)
24.6
(76.3)
24.6
(76.3)
24.6
(76.3)
24.4
(75.9)
22.4
(72.3)
19.4
(66.9)
23.32
(73.97)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 6.7
(0.264)
8.9
(0.35)
18.0
(0.709)
65.1
(2.563)
143.4
(5.646)
101.4
(3.992)
113.9
(4.484)
136.1
(5.358)
275.5
(10.846)
192.8
(7.591)
39.8
(1.567)
11.2
(0.441)
1,112.8
(43.811)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 1 1 2 5 12 13 15 16 19 13 4 1 102
แหล่งที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
แผนภูมิแสดงสภาพภูมิอากาศของ
จังหวัดสุพรรณบุรี (วิธีอ่าน)
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
 
 
6.7
 
32
19
 
 
8.9
 
34
22
 
 
18
 
36
24
 
 
65.1
 
37
25
 
 
143.4
 
35
25
 
 
101.4
 
34
25
 
 
113.9
 
34
25
 
 
136.1
 
33
25
 
 
275.5
 
32
25
 
 
192.8
 
32
24
 
 
39.8
 
31
22
 
 
11.2
 
30
19
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาเซลเซียส
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นมิลลิเมตร
ที่มา: [1]