ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวลาออมแสงยุโรปกลาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:Q207020
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
* [[ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2427
* [[ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2427
* [[ประเทศโครเอเชีย]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2427
* [[ประเทศโครเอเชีย]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2427
* [[สาธารณรัฐเช็ก]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2434
* [[ประเทศเช็กเกีย]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2434
* [[ประเทศเดนมาร์ก]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2437
* [[ประเทศเดนมาร์ก]], เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2437
* [[ประเทศฝรั่งเศส]] (เขตเมืองหลวงและปริมณฑล, เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2483 และมีช่วงที่ไม่ใช้ในปี พ.ศ. 2487–พ.ศ. 2488)
* [[ประเทศฝรั่งเศส]] (เขตเมืองหลวงและปริมณฑล, เริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2483 และมีช่วงที่ไม่ใช้ในปี พ.ศ. 2487–พ.ศ. 2488)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:29, 11 สิงหาคม 2559

เวลาในทวีปยุโรป:
ฟ้าอ่อน เวลายุโรปตะวันตก / เวลามาตรฐานกรีนิช (UTC)
สีฟ้า เวลายุโรปตะวันตก / เวลามาตรฐานกรีนิช (UTC)
เวลาออมแสงยุโรปตะวันตก / เวลาออมแสงบริติช / เวลามาตรฐานไอร์แลนด์ (UTC+1)
สีแดง เวลายุโรปกลาง (UTC+1)
เวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2)
สีเหลือง เวลายุโรปตะวันออก / เวลาคาลินินกราด (UTC+2)
สีกากี เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2)
เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก (UTC+3)
เขียวอ่อน เวลามอสโก / เวลาตุรกี (UTC+3)
เทอร์ควอยซ์ เวลาอาร์มีเนีย / เวลาอาเซอร์ไบจาน / เวลาจอร์เจีย (UTC+4)
 สีอ่อน: ใช้เวลามาตรฐานทั้งปี
 สีเข้ม: สังเกตเวลาฤดูร้อน

เขตเวลาออมแสงชาติยุโรปกลาง (อังกฤษ: Central European Summer Time; CEST) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 2 ชั่วโมง (UTC+2) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา

ประเทศที่ใช้

ประเทศหรือเขตพื้นที่ต่อไปนี้ที่ใช้เขตเวลาชาติยุโรปกลางเฉพาะช่วงฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เวลา 1.00 นาฬิกาตามเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC±0) ในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ไปจนถึง เวลา 1.00 นาฬิกาตามเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC±0) ในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม