ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขันธ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ผู้รู้น้อย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''ขันธ์''' แปลว่า ''กอง, หมวด, หมู่, ส่วน'' ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายของมนุษย์ คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน หรือ 5 ขันธ์ คือ
'''ขันธ์''' แปลว่า ''กอง, หมวด, หมู่, ส่วน'' ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายของมนุษย์ คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน หรือ 5 ขันธ์ คือ
# '''[[รูป (พุทธศาสนา)|รูป]]''' ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก โลหิต
# '''[[รูป (ศาสนาพุทธ)|รูป]]''' ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก โลหิต
# '''[[เวทนา]]''' ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
# '''[[เวทนา]]''' ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
# '''[[สัญญา (พุทธศาสนา)|สัญญา]]''' ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
# '''[[สัญญา (ศาสนาพุทธ)|สัญญา]]''' ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
# '''[[สังขาร]]''' ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจำได้นั้นๆ
# '''[[สังขาร]]''' ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจำได้นั้นๆ
# '''[[วิญญาณ (ศาสนาพุทธ)|วิญญาณ]]''' ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
# '''[[วิญญาณ (ศาสนาพุทธ)|วิญญาณ]]''' ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
บรรทัด 15: บรรทัด 15:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]] ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548


[[หมวดหมู่:ขันธ์ ๕]]
[[หมวดหมู่:ขันธ์ ๕]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ธรรมหมวด 5]]

ขอน้อมสักการะพระผู้มีพระภาคเจ้า พระธรรม พระสงฆ์
ขันธ์ 5 ตามคำกล่าวของพุทธวจนะ

ขันธ์ 5

1. รูป
2.เวทนา
3.สัญญา
4.สังขาร
5.วิญญาณ

ความหมายของคำว่า “รูป”
ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “รูป” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่แตกสลายได้ มีอยู่ ในสิ่งนั้น ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า รูป.
สิ่งนั้น แตกสลายได้ เพราะอะไร ?
สิ่งนั้น แตกสลายได้เพราะความเย็นบ้าง,
แตกสลายได้ เพราะความร้อนบ้าง,
แตกสลายได้ เพราะความหิวบ้าง,
แตกสลายได้ เพราะความกระหายบ้าง,
แตกสลายได้ เพราะถูกต้องกับเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลานบ้าง,
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่แตกสลายได้ มีอยู่ ในสิ่งนั้น ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่ารูป.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.

ความหมายของคำว่า “เวทนา”
ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “เวทนา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้สึกได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า เวทนา.
สิ่งนั้น ย่อมรู้สึกได้ ซึ่งอะไร ?
สิ่งนั้น ย่อมรู้สึกได้ ซึ่งความรู้สึกอันเป็นสุขบ้าง,
ย่อมรู้สึกได้ ซึ่งความรู้สึกอันเป็นทุกข์บ้าง,
และย่อมรู้สึกได้ ซึ่งความรู้สึกอันไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้สึกได้มีอยู่ ในสิ่งนั้น ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า เวทนา.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙

ความหมายของคำว่า “สัญญา”
ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง,
และย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง.
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
- ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.

ความหมายของคำว่า “สังขาร”
ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สังขารทั้งหลาย” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า?
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ ในสิ่งนั้น ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สังขาร.
สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งอะไร ให้เป็นของสำเร็จรูป ?
สิ่งนั้นย่อมปรุงแต่งรูป ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นรูป,
ย่อมปรุงแต่งเวทนา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นเวทนา,
ย่อมปรุงแต่งสัญญา ให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสัญญา,
ย่อมปรุงแต่งสังขารให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นสังขาร,
และย่อมปรุงแต่งวิญญาณให้สำเร็จรูป เพื่อความเป็นวิญญาณ.
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่ปรุงแต่งให้สำเร็จรูป มีอยู่ในสิ่งนั้น ดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่าสังขารทั้งหลาย.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.


ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “วิญญาณ” เพราะอาศัยความหมายอะไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้งได้ มีอยู่ในสิ่งนั้น ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.
สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้งซึ่งอะไร ?
สิ่งนั้น ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเปรี้ยวบ้าง,
ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความขมบ้าง,
ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเผ็ดร้อนบ้าง,
ย่อมรู้แจ้งซึ่ง ความหวานบ้าง,
ย่อมรู้แจ้งซึ่งความขื่นบ้าง,
ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความความไม่ขื่นบ้าง,
ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความเค็มบ้าง,
ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งความไม่เค็มบ้าง.
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่รู้แจ้งได้ มีอยู่ในสิ่งนั้นดังนั้น สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า วิญญาณ.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๐๖/๑๕๙.

่ข้อมูลจาก(Reference) http://www.oknation.net/blog/buddha2600/2012/07/04/entry-2
หากมีสิ่งใดผิดพลาดจากความประมาทพลาดพลั้ง ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ โปรดอโหสิกรรม ผู้รู้น้อยเพียงหวังให้มีการอ้างอิงพุทธวจนะ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:50, 1 สิงหาคม 2559

ขันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายของมนุษย์ คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน หรือ 5 ขันธ์ คือ

  1. รูป ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก โลหิต
  2. เวทนา ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
  3. สัญญา ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
  4. สังขาร ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจำได้นั้นๆ
  5. วิญญาณ ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม เมื่อจัดขันธ์เข้าในปรมัตถธรรม

  • วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต
  • เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก
  • รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป
  • การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน

อ้างอิง