ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดชัยนาท"

พิกัด: 15°11′N 100°08′E / 15.18°N 100.13°E / 15.18; 100.13
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6559886 สร้างโดย 101.108.255.2 (พูดคุย)
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
| อันดับหนาแน่น = 30
| อันดับหนาแน่น = 30
<!-- ข้อมูลศูนย์ราชการ (ข้อมูลเพิ่มเติม) -->
<!-- ข้อมูลศูนย์ราชการ (ข้อมูลเพิ่มเติม) -->
| ศูนย์ราชการ = ศาลากลางจังหวัดชัยนาท ถนนพรหมประเสริฐ ตำบลในเมือง [[อำเภอเมืองชัยนาท]] จังหวัดชัยนาท 17000 73000
| ศูนย์ราชการ = ศาลากลางจังหวัดชัยนาท ถนนพรหมประเสริฐ ตำบลในเมือง [[อำเภอเมืองชัยนาท]] จังหวัดชัยนาท 17000
| โทรศัพท์ = 0 3641 1234
| โทรศัพท์ = 0 3641 1234
| โทรสาร = 0 3641 2104
| โทรสาร = 0 3641 2104

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:16, 23 กรกฎาคม 2559

จังหวัดชัยนาท
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันChangwat Chai Nat
คำขวัญ: 
หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดชัยนาทเน้นสีแดงประเทศมาเลเซียประเทศพม่าประเทศลาวประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาจังหวัดนราธิวาสจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดพัทลุงจังหวัดกระบี่จังหวัดภูเก็ตจังหวัดพังงาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดระนองจังหวัดชุมพรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครกรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดสระแก้วจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครนายกจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดอ่างทองจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสุรินทร์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดชัยนาทจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดมหาสารคามจังหวัดขอนแก่นจังหวัดชัยภูมิจังหวัดเพชรบูรณ์จังหวัดนครสวรรค์จังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดตากจังหวัดมุกดาหารจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดเลยจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดหนองคายจังหวัดอุดรธานีจังหวัดบึงกาฬจังหวัดสกลนครจังหวัดนครพนมจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดน่านจังหวัดพะเยาจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายจังหวัดลำปางจังหวัดลำพูนจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดชัยนาทเน้นสีแดง
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดชัยนาทเน้นสีแดง
ประเทศ ไทย
การปกครอง
 • ผู้ว่าราชการ นายคณิต เอี่ยมระหงษ์
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2558)
พื้นที่
 • ทั้งหมด2,469.746 ตร.กม.[1] ตร.กม. (Formatting error: invalid input when rounding ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่อันดับที่ 65
ประชากร
 (พ.ศ. 2557)
 • ทั้งหมด332,283 คน[2] คน
 • อันดับอันดับที่ 67
 • อันดับความหนาแน่นอันดับที่ 30
รหัส ISO 3166TH-18
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
 • ต้นไม้มะตูม
 • ดอกไม้ชัยพฤกษ์
ศาลากลางจังหวัด
 • โทรศัพท์0 3641 1234
 • โทรสาร0 3641 2104
เว็บไซต์http://www.chainat.go.th/
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท[3] เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

  • คำขวัญประจำจังหวัด : หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา
  • ตราประจำจังหวัด : รูปพระธรรมจักร รองรับด้วยพญาครุฑ เบื้องหลังเป็นแม่น้ำและภูเขา ซึ่งหมายถึงสัญลักษณ์รูปพระธรรมจักรที่ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารวัดธรรมามูลวรวิหาร ตั้งอยู่บนไหล่เขาธรรมามูล
  • ธงประจำจังหวัด : เป็นรูปตราประจำจังหวัดบนพื้นสีบานเย็น (magenta) ซึ่งเป็นสีประจำจังหวัด
  • ต้นไม้ประจำจังหวัด : มะตูม ([Aegle marmelos] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))
  • ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกชัยพฤกษ์ ([Cassia javanica] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))
  • สัตว์น้ำประจำจังหวัด : ปลาแดง ([Phalacronotus bleekeri] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))

หน่วยการปกครอง

การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 53 ตำบล 503 หมู่บ้าน

  1. อำเภอเมืองชัยนาท
  2. อำเภอมโนรมย์
  3. อำเภอวัดสิงห์
  4. อำเภอสรรพยา
  5. อำเภอสรรคบุรี
  6. อำเภอหันคา
  7. อำเภอหนองมะโมง
  8. อำเภอเนินขาม
 แผนที่

ประชากรในจังหวัด

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
อันดับ
(ปีล่าสุด)
อำเภอ พ.ศ. 2557[4] พ.ศ. 2556[5] พ.ศ. 2555[6] พ.ศ. 2554[7] พ.ศ. 2553[8] พ.ศ. 2552[9] พ.ศ. 2551[10]
1 เมืองชัยนาท 71,357 71,412 71,434 71,138 71,830 71,864 72,031
2 สรรคบุรี 66,260 66,429 66,591 66,689 66,922 67,189 67,383
3 หันคา 55,642 55,663 55,716 55,778 56,021 55,957 55,904
4 สรรพยา 43,199 43,435 43,662 43,824 44,120 44,356 44,553
5 มโนรมย์ 32,847 32,819 32,749 32,772 32,923 33,005 33,041
6 วัดสิงห์ 26,075 26,172 26,225 26,282 26,283 26,304 26,389
7 หนองมะโมง 19,690 19,603 19,536 19,446 19,422 19,341 19,330
8 เนินขาม 17,213 17,236 17,259 17,327 17,413 17,404 17,371
รวม 332,283 332,769 333,172 333,256 334,934 335,420 335,952

ประวัติ

ชัยนาทแปลตามศัพท์มีความหมายว่า "ชัยชนะที่มีเสียงบันลือ" เป็นเมืองโบราณเมืองหนึ่ง ตัวเมืองเดิมอยู่บริเวณฝั่งขวาแม่น้ำเจ้าพระยาที่ปากคลองแพรกศรีราชา ใต้ปากน้ำเก่า สันนิษฐานว่าคงจะสร้างขึ้นในสมัยพญาเลอไทครองกรุงสุโขทัยระหว่าง พ.ศ. 1860-1879 เมืองแห่งนี้จึงได้ชื่อว่า เมืองแพรกหรือเมืองสรรค์ มีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านทางใต้ เมื่อกรุงสุโขทัยเสื่อมอำนาจลง เมืองแพรกได้กลายเป็นเมืองหน้าด่านทางตอนเหนือของกรุงศรีอยุธยา ต่อมาได้เกิดชุมชนใหม่ไม่ไกลจากเมืองสรรค์ เมืองที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นเมืองใหญ่ มีชื่อว่า ชัยนาท ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ย้ายตัวเมืองจากบริเวณแหลมยาง มาตั้งตรงฝั่งซ้ายแม่น้ำเจ้าพระยา ส่วนเมืองสรรค์นั้นเสื่อมลงเรื่อย ๆ เพราะผู้คนอพยพมาอยู่ที่ชัยนาทเป็นส่วนใหญ่ ในที่สุดก็กลายเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของชัยนาทเท่านั้น ชัยนาทเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สำคัญ เคยใช้เป็นที่ตั้งทัพรับศึกพม่าหลายครั้งและมีชัยทุกครั้งไป จึงเป็นที่มาของชื่อเมืองชัยนาทแห่งนี้

รายนามผู้ว่าราชการจังหวัด

ชื่อ ช่วงเวลาดำรงตำแหน่ง
1. พระยาสุรบดินทรสุรินทรฤ ชัย (ทองอิน) ไม่ทราบข้อมูล
2. พระยาสุรบดินทรสุรินทรฤ ชัย (อ้น) ไม่ทราบข้อมูล
3. พระยาสุรบดินทรสุรินทรฤ ชัย (ขุนเณร) ไม่ทราบข้อมูล
4. พระยามหาอานุภาพ ไม่ทราบข้อมูล
5. พระยาสุรบดินทรสุรินทรฤ ชัย (ติ่ง) ไม่ทราบข้อมูล
6. หลวงวิชิตพิรักษ์ (ม.ล. อั้น เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา) ไม่ทราบข้อมูล
7. พระเฑียรฆราบ (แม้น) ไม่ทราบข้อมูล
8. พระกำแพงพลล้าน (ชื้น คชภูมิ) ไม่ทราบข้อมูล
9. พระยาไชยนฤนาท (ฉาย อัมพะเศวต) พ.ศ. 2454–2463
10. ม.ล.ถูกถวิล สุขสวัสดิ์ พ.ศ. 2463–2465
11. พระยาสุรินทรฤ ชัย (จันทร์ ตุงคสวัสดิ์) พ.ศ. 2465–2469
12. พระยาวิชิตรสรไกร (เอี่ยม ขัมพานนท์) พ.ศ. 2469 –2476
13. พระยาประเสริฐสุนทราศัย พ.ศ. 2476–2477
14. หลวงศรีนรานุบาล (สมุท สาขากร) พ.ศ. 2477–2479
15. หลวงอุบลศักดิ์ประชาบาล (พันธ พรหมนาถ) พ.ศ. 2479–2480
16. หลวงบริบาลนิคมเขตต์ (ชวน ทรัพย์สาร) พ.ศ. 2480–2483
17. พระอนุมานสารกรรม (โต้ง สรัคคานนท์) พ.ศ. 2483–2486
18. หลวงสกลผดุงเขตต์ (สรชัย สกลผดุงเขตต์) พ.ศ. 2486–2487
19. หลวงสฤษฏิ์สาราลักษณ์ (เปรม สฤษฏิ์สาราลักษณ์) พ.ศ. 2487–2490
20. หลวงอรรถวิภัชน์พจนกร (กรุง เลิศวนิช) พ.ศ. 2490
21. นายสมบูรณ์ จันทร์ประทับ พ.ศ. 2490–2493
22. ขุนรัฐวุฒิวิจารณ์ พ.ศ. 2493–2495
23. นายสมบัติ สมบัติทวี พ.ศ. 2495–2500
24. นายยุทธ หนุนภักดี พ.ศ. 2500–2502
25. นายสันต์ เอกมหาชัย พ.ศ. 2502–2503
26. นายประกอบ ทรัพย์มณี พ.ศ. 2503–2506
27. นายสง่า ศุขรันต์ พ.ศ. 2506–2512
28. นายเฉลิม วรรธโนทัย พ.ศ. 2512–2515
29. นายกัมพล กลิ่นสุคนธ์ พ.ศ. 2515–2516
30. นายกริช เกตุแก้ว พ.ศ. 2516–2519
31. นายประกิต อุตตะโมต พ.ศ. 2519–2520
32. นายพัฒนะ สุวรรณพาณิชย์ พ.ศ. 2520–2521
33. นายจินดา จิตตรอง พ.ศ. 2521–2522
34. นายมนตรี ตระหง่าน พ.ศ. 2522–2525
35. นายกุศล ศานติธรรม พ.ศ. 2525–2527
36. ดร.ไพรัตน์ เดชะรินทร์ พ.ศ. 2527–2530
37. นายสายสิทธิ พรแก้ว พ.ศ. 2530–2532
38. ร้อยตรีสมนึก เกิดเกษ พ.ศ. 2532–2533
39. นายประพัฒน์พงษ์ บำเพ็ญสิทธิ์ พ.ศ. 2533–2535
40. ร้อยตรีวิรุฬห์ พรหมายน พ.ศ. 2535–2539
41. นายสุนทร ริ้วเหลือง พ.ศ. 2539–2540
42. นายอนุกูล คุณาวงศ์ พ.ศ. 2540–2541
43. นายกฤษณ์ ธีระชัยชยุติ พ.ศ. 2541–2542
44. นายอารยะ วิวัฒน์วานิช พ.ศ. 2542–2544
45. นายวิชัย ศรีขวัญ พ.ศ. 2544–2547
46. นายนันทชัย สุนทรพิพิธ พ.ศ. 2547–2548
47. นายเจด็จ มุสิกวงศ์ พ.ศ. 2548–2550
48. ดร.ประภากร สมิติ พ.ศ. 2550–2551
48. นายวินัย บัวประดิษฐ์ พ.ศ. 2551–2552
50. นายจำลอง โพธิ์สุข พ.ศ. 2552–2556
51. นายกำธร ถาวรสถิตย์ พ.ศ. 2556–2557
52. นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ พ.ศ. 2557–2558
53. นายคณิต เอี่ยมระหงษ์ พ.ศ. 2558–ปัจจุบัน

อาณาเขต

สถานที่สำคัญ

เทศกาลประเพณี

งานมหกรรมหุ่นฟางนก

เป็นการนำฟางข้าวที่ไม่ได้ใช้ทำประโยชน์ มาประดิษฐ์เป็นรูปนกขนาดใหญ่หลายชนิด โดยนก แต่ละชนิด นำมาติดตั้งบนรถแต่ละคัน ซึ่งตกแต่งไว้อย่างสวยงามเป็นรูปขบวน หลังจากการ ประกวดหุ่นฟางนกทั้งหมดจะนำมาตั้งแสดงที่บริเวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัด กำหนดจัดงานประมาณต้นเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี นอกจากนี้ ในบริเวณงานจะมีการออกร้านจำหน่ายสินค้าพื้นเมือง และผลิตผลทางการเกษตร

งานส้มโอชัยนาท

ชัยนาทเป็นจังหวัดที่สามารถปลูกส้มโอทุกพันธุ์ได้ผลดี ส้มโอสายพันธุ์ที่มีชื่อเสียงของจังหวัดชัยนาทคือ ส้มโอพันธุ์ขาวแตงกวา ซึ่งมีลักษณะพิเศษดังนี้คือ ผลกลม ผิวเรียบ เปลือกบาง รสหวานกรอบอมเปรี้ยวนิด ๆ ไม่มีรสขม ปัจจุบันจังหวัดเร่งส่งเสริมให้เกษตรกรชาวสวนปลูกกันเป็นอาชีพและจัดงานส้มโอชัยนาทเป็นประจำทุกปี ช่วงระหว่างปลายเดือนสิงหาคมหรือต้นเดือนกันยายนที่บริเวณหน้าศาลากลาง จังหวัดชัยนาท มีกิจกรรมที่น่าสนใจคือการประกวดส้มโอ การจัดนิทรรศการให้ความรู้ จากหน่วยงานทางราชการ การออกร้านจำหน่ายกิ่งพันธุ์และผลส้มโอของเกษตรกรชาวชัยนาท

ชาวชัยนาทที่มีชื่อเสียง

อ้างอิง

  1. ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  3. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 34 ตอนที่ ๐ก วันที่ 29 เมษายน 2460
  4. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเนกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖, เล่ม ๑๓๑, ตอน ๔๑ ง , ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑
  6. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  7. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html 2555. สืบค้น 6 เมษายน 2555.
  8. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/y_stat53.html 2553. สืบค้น 30 มกราคม 2554.
  9. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552."203.113.86.149/stat/y_stat.htmlสืบค้น 30 มีนาคม 2553
  10. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/stat/y_stat51.html 2552. สืบค้น 30 มกราคม 2552.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

15°11′N 100°08′E / 15.18°N 100.13°E / 15.18; 100.13