ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่หก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "สงครามสัมพันธ" → "สงครามมหาสัมพันธ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ความขัดแย้งทางทหาร
{{กล่องข้อมูล ความขัดแย้งทางทหาร
|conflict = สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่หก
|conflict = สงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หก
|partof = [[สงครามนโปเลียน]]
|partof = [[สงครามนโปเลียน]]
|image = [[ภาพ:MoshkovVI SrazhLeypcigomGRM.jpg|300px]]
|image = [[ภาพ:MoshkovVI SrazhLeypcigomGRM.jpg|300px]]
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
}}
}}


'''สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่หก''' ({{lang-en|War of the Sixth Coalition}}) เป็นการผนึกกำลังระหว่าง[[จักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]], [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]], [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]], [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]], [[ราชอาณาจักรโปรตุเกส|โปรตุเกส]], [[สวีเดน]], [[จักรวรรดิสเปน|สเปน]] และรัฐเยอรมันอีกหลายๆรัฐ เข้าต่อสู้และมีชัยเหนือฝรั่งเศสซึ่งนำโดย[[นโปเลียน โบนาปาร์ต]] และเนรเทศนโปเลียนไปยังเกาะ[[เกาะเอลบา]] สงครามนี้เริ่มขึ้นหลังจากที่กองทัพนโปเลียนพ่ายแพ้อย่างพินาศย่อยยับในการรุกรานรัสเซีย มหาอำนาจยุโรปอย่างสหราชอาณาจักร, โปรตุเกส และฝ่ายกบฎในสเปนต่างพากันเข้าร่วมกับรัสเซียในการสยบนโปเลียน กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรที่ได้รับการจัดระเบียบใหม่ สามารถไล่ทหารของนโปเลียนออกจากเยอรมนีได้ในปี ค.ศ. 1813 และเริ่มรุกรานเข้าสู่ฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1814 ซึ่งทำให้นโปเลียนจำยอมต้องลงจากราชบัลลังก์และเปิดทางให้มี[[การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง]]
'''สงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หก''' ({{lang-en|War of the Sixth Coalition}}) เป็นการผนึกกำลังระหว่าง[[จักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]], [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]], [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]], [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]], [[ราชอาณาจักรโปรตุเกส|โปรตุเกส]], [[สวีเดน]], [[จักรวรรดิสเปน|สเปน]] และรัฐเยอรมันอีกหลายๆรัฐ เข้าต่อสู้และมีชัยเหนือฝรั่งเศสซึ่งนำโดย[[นโปเลียน โบนาปาร์ต]] และเนรเทศนโปเลียนไปยังเกาะ[[เกาะเอลบา]] สงครามนี้เริ่มขึ้นหลังจากที่กองทัพนโปเลียนพ่ายแพ้อย่างพินาศย่อยยับในการรุกรานรัสเซีย มหาอำนาจยุโรปอย่างสหราชอาณาจักร, โปรตุเกส และฝ่ายกบฎในสเปนต่างพากันเข้าร่วมกับรัสเซียในการสยบนโปเลียน กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรที่ได้รับการจัดระเบียบใหม่ สามารถไล่ทหารของนโปเลียนออกจากเยอรมนีได้ในปี ค.ศ. 1813 และเริ่มรุกรานเข้าสู่ฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1814 ซึ่งทำให้นโปเลียนจำยอมต้องลงจากราชบัลลังก์และเปิดทางให้มี[[การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:40, 9 กรกฎาคม 2559

สงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หก
ส่วนหนึ่งของ สงครามนโปเลียน

ยุทธการไลพ์ซิก
วันที่มีนาคม ค.ศ. 1813 – พฤษภาคม ค.ศ. 1814
สถานที่
ทวีปยุโรป
ผล

ชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร

คู่สงคราม

สัมพันธมิตรเริ่มแรก

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

ฝรั่งเศส นโปเลียนที่ 1 ฝรั่งเศส นีกอลา อูดีโน
ฝรั่งเศส หลุยส์-นีกอลา ดาวู
ฌูจีนเดอบัวแอร์เน
โปแลนด์ โจเซฟ โปเนียโตสกี 

ฌออากีม มูว์รา
กำลัง
ราว 800,000
มากกว่า 1,200,000 หลังพันธมิตรนโปเลียนแตก
ราว 550,000
เหลือ 400,000 หลังพวกเยอรมันย้ายฝั่ง
  1. ดัชชีวอร์ซออยู่ในสงครามจนถึงเดือนพฤษภาคม 1813 เท่านั้น ก็ถูกยึดครองโดยกองกำลังปรัสเซียและรัสเซีย

สงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หก (อังกฤษ: War of the Sixth Coalition) เป็นการผนึกกำลังระหว่างออสเตรีย, ปรัสเซีย, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร, โปรตุเกส, สวีเดน, สเปน และรัฐเยอรมันอีกหลายๆรัฐ เข้าต่อสู้และมีชัยเหนือฝรั่งเศสซึ่งนำโดยนโปเลียน โบนาปาร์ต และเนรเทศนโปเลียนไปยังเกาะเกาะเอลบา สงครามนี้เริ่มขึ้นหลังจากที่กองทัพนโปเลียนพ่ายแพ้อย่างพินาศย่อยยับในการรุกรานรัสเซีย มหาอำนาจยุโรปอย่างสหราชอาณาจักร, โปรตุเกส และฝ่ายกบฎในสเปนต่างพากันเข้าร่วมกับรัสเซียในการสยบนโปเลียน กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรที่ได้รับการจัดระเบียบใหม่ สามารถไล่ทหารของนโปเลียนออกจากเยอรมนีได้ในปี ค.ศ. 1813 และเริ่มรุกรานเข้าสู่ฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1814 ซึ่งทำให้นโปเลียนจำยอมต้องลงจากราชบัลลังก์และเปิดทางให้มีการฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง

อ้างอิง

  • Ellis, Geoffrey (2014), Napoleon: Profiles In Power, Routledge, p. 100, ISBN 9781317874706
  • Hodgson, William (1841), The life of Napoleon Bonaparte, once Emperor of the French, who died in exile, at St. Helena, after a captivity of six years' duration, Orlando Hodgson
  • Merriman, John (1996), A History Of Modern Europe, W.W. Norton Company, p. 579
  •  Maude, Frederic Natusch (1911). "Napoleonic Campaigns" . ใน Chisholm, Hugh (บ.ก.). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 19 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. pp. 212–236.
  • Riley, J. P. (2013), Napoleon and the World War of 1813: Lessons in Coalition Warfighting, Routledge, p. 206
  •  Robinson, Charles Walker (1911). "Peninsular War" . ใน Chisholm, Hugh (บ.ก.). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 21 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.
  • Ross, Stephen T. (1969), European Diplomatic History 1789-1815: France against Europe, pp. 342–344