ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศฮังการี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6504093 สร้างโดย Ardol67 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 232: บรรทัด 232:
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==เค


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:15, 28 มิถุนายน 2559

ฮังการี

Magyarország (ฮังการี)
คำขวัญปัจจุบันไม่มี
ในอดีต: Regnum Mariae Patrona Hungariae
เพลงชาติHimnusz
Isten, áldd meg a magyart
Hymn
ที่ตั้งของฮังการี
เมืองหลวง บูดาเปสต์
เมืองใหญ่สุดบูดาเปสต์
ภาษาราชการภาษาฮังการี
การปกครองประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
ยาโนช อาเดร์
วิกโตร์ โอร์บาน
ก่อตั้ง
• ก่อตั้ง
ธันวาคม พ.ศ. 1543
พื้นที่
• รวม
93,030 ตารางกิโลเมตร (35,920 ตารางไมล์) (108)
0.74%
ประชากร
• มกราคม พ.ศ. 2548 ประมาณ
10,006,835 (82)
• สำมะโนประชากร พ.ศ. 2544
10,198,315
108 ต่อตารางกิโลเมตร (279.7 ต่อตารางไมล์) (94)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2003 (ประมาณ)
• รวม
147,472 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (46)
14,572 ดอลลาร์สหรัฐ (39)
เอชดีไอ (2556)0.818
สูงมาก · 43
สกุลเงินโฟรินต์ (Forint) (HUF)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (CEST)
รหัสโทรศัพท์36
โดเมนบนสุด.hu

ฮังการี (อังกฤษ: Hungary) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars)

ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก[1] โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก[2] ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลตา

ภูมิศาสตร์

ฮังการีตั้งอยู่กลางทวีปยุโรปแถบที่ราบเทือกเขาคาร์เปเทียน (Carpathian Basin) มีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน 7 ประเทศ คือ โรมาเนีย ออสเตรีย สโลวาเกีย ยูเครน เซอร์เบีย โครเอเชีย และสโลวีเนีย รูปร่างประเทศฮังการีคล้ายรูปไต มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 93,000 ตารางกิโลเมตร

ภูมิประเทศแบ่งออกเป็น 3 ส่วน

  1. The Great Plain (Nagyalföld) เป็นที่ราบต่ำทางตะวันออกและตอนกลาง
  2. The Little Plain เป็นที่ราบขนาดเล็กทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีแนวเทือกเขาที่สูงที่สุด ชื่อว่า Kékes tető (สูง 1,015 เมตร)
  3. Transdanubia เนินเขา สลับกับที่ราบสูง ๆ ต่ำทางตะวันและตะวันตกฉียงใต้

ฮังการีมีแม่น้ำสำคัญ 2 สาย คือ แม่น้ำดานูบและแม่น้ำทิสซอ แม่น้ำทั้งสองสายแบ่งประเทศออกเป็น 3 ส่วน และยังมี แม่น้ำดราวา เป็นแม่น้ำกั้นพรมแดนระหว่างฮังการีกับโครเอเชียทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ

ฮังการีมีทะเลสาบหลายแห่ง แต่ทะเลสาบที่มีชื่อเสียงและใหญ่ที่สุด คือ ทะเลสาบบอลอโตน (Balaton)

พื้นทีส่วนใหญ่ของฮังการี ประมาณ 70%ทำการเกษตร ส่วนพื้นที่เหลือ เป็นป่าทึบ ได้แก่ ป่าโอ๊ก และ ป่าบีช สัตว์ท้องถิ่นที่พบทั่วไป เช่น กระต่ายป่า กวาง หมี นาก สัตว์ป่าหายาก เช่น แมวป่า ค้างคาวทะเล สัตว์พื้นเมืองที่มีมากที่สุด คือ นกชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะนกน้ำที่ชอบพื้นที่ชื้นแฉะแถบที่ลุ่มตามทะเลสาบ ฮังการี มี ป่าสงวน 5 แห่งและมีการประกาศ เขตคุ้มครองกว่า 100 แห่ง

ประวัติศาสตร์

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ประเทศฮังการีเคยเป็นส่วนหนึ่งของ จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีประวัติอย่างยาวนานมาตั้งแต่ในตอนศตวรรษที่ 9

ยุคกลาง

ร่วมสมัย

การเมือง

ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ซึ่งเป็นระบบสภาเดียว โดยมีประธานาธิบดีซึ่งมาจากการเลือกตั้ง ทำหน้าที่เป็นประมุขของประเทศอยู่ในตำแหน่งวาระละ 5 ปี ดำรงตำแหน่งได้เพียง 2 วาระ ปัจจุบัน คือ นาย Laszlo Solyom ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2548

บริหาร

นิติบัญญัติ

ตุลาการ

การแบ่งเขตการปกครอง

มณฑล (เมืองเอก)

นโยบายต่างประเทศ

ความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรป

ความสัมพันธ์ด้านต่างๆกับประเทศไทย

ความสัมพันธ์ฮังการี – ไทย
Map indicating location of ฮังการี and ไทย

ฮังการี

ไทย
  • การทูต
  • การเมือง
  • การทหาร
  • เศรษฐกิจและการค้า
  • การท่องเที่ยว

กองทัพ

กองกำลังกึ่งทหาร

เศรษฐกิจ

เกษตรกรรม

อุตสาหกรรม

การพัฒนาทางเศรษฐกิจ

ฮังการีเพิ่งเปิดประเทศเป็นประเทศเสรีนิยมหลังการล่มสลายของระบบการปกครองระบบคอมมิวนิสต์ในประเทศ เศรษฐกิจโดยรวมจึงยังคงอยู่ในสภาพยากจน ขณะที่ฮังการีกำลังเร่งปรับปรุงการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศ

ฮังการีมีทรัพยากรธรรมชาติน้อยเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างโปแลนด์และสโลวาเกีย ฮังการีมีอัตราคนว่างงานประมาณร้อยละ 9 และอัตราเงินเฟ้อกว่าร้อยละ 10 ฮังการีพยายามทำให้อัตราเงินเฟ้อลดลง แต่เป็นไปได้ยาก เนื่องจากประชาชนเพื่งได้รับเสรีในการใช้จ่าย มีความต้องการในการใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าตามกระแสวัตถุนิยมตามแบบในประเทศแถบยุโรปอื่น ๆ ค่อนข้างสูง

เศรษฐกิจของฮังการีเติบโตได้เนื่องจากสินค้าออกและการลงทุนของบริษัทขนาดใหญ่ภายในประเทศ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน ค.ศ. 1989 ฮังการีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจเร็วกว่าหลายประเทศในแถบยุโรป

การท่องเที่ยว

โครงสร้างพื้นฐาน

คมนาคม และ โทรคมนาคม

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

การศึกษา

สาธารณสุข

ประชากรศาสตร์

เชื้อชาติ

10 ล้านคน (ปี 2550) ประกอบด้วย ชาวฮังกาเรียน (92.3%) โรมา (1.9%) และอื่น ๆ (5.8%)

ศาสนา

ภาษา

กีฬา

วัฒนธรรม

วรรณกรรม

สถาปัตยกรรม

อาหาร

ดนตรี

ภาพยนตร์

สื่อสารมวลชน

วันหยุด

== ดูเพิ่ม ==เค

อ้างอิง

  1. "COUNTRY COMPARISON :: AREA". CIA. สืบค้นเมื่อ 10 April 2014.
  2. "COUNTRY COMPARISON :: POPULATION". CIA. สืบค้นเมื่อ 10 April 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น