ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่สตาลินกราด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ardol67 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| วันที่ = 21 สิงหาคม ค.ศ. 1942 - 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943
| วันที่ = 21 สิงหาคม ค.ศ. 1942 - 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943
| สถานที่ = [[วอลโกกราด|สตาลินกราด]] สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย [[สหภาพโซเวียต]]
| สถานที่ = [[วอลโกกราด|สตาลินกราด]] สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย [[สหภาพโซเวียต]]
| ผลการรบ = โซเวียตชนะอย่างเด็ดขาด
| ผลลัพธ์ = โซเวียตชนะอย่างเด็ดขาด
| ผู้ร่วมรบ1 = {{plainlist|
| ผู้ร่วมรบ1 = {{plainlist|
* {{Flag icon|Nazi Germany}} [[นาซีเยอรมนี|เยอรมนี]]
* {{Flag icon|Nazi Germany}} [[นาซีเยอรมนี|เยอรมนี]]
* [[ไฟล์:Flag of Romania.svg|22px]] [[โรมาเนีย]]
* [[ไฟล์:Flag of Romania.svg|22px]] [[โรมาเนีย]]
* [[ไฟล์:Flag of Italy (1861-1946).svg|22px]] [[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|อิตาลี]]
* [[ไฟล์:Flag of Italy (1861-1946).svg|22px]] [[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|อิตาลี]]
* [[ไฟล์:Flag of Hungary 1940.svg|20px]] [[ฮังการี]]
* [[ไฟล์:Flag of Hungary 1940.svg|20px]] [[ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920-1946)|ฮังการี]]
* [[ไฟล์:Flag of Independent State of Croatia.svg|22px]] [[โครเอเชีย]]
* [[ไฟล์:Flag of Independent State of Croatia.svg|22px]] [[โครเอเชีย]]
}}
}}
บรรทัด 107: บรรทัด 107:


ในยุทธการสตาลินกราดนั้น มีเรื่องเล่าว่า ระหว่างการรบ กองทัพแดงกำลังขาดแคลนกระสุนปืนที่จะให้กับเหล่าทหารเกณฑ์ใหม่ในการสู้รบกับทหารเยอรมัน แต่ทางกองทัพได้แก้ไขปัญหาคือ ให้คนหนึ่งถือปืนไรเฟิล mosin nagant โดยไม่มีกระสุน กับคนหนึ่งถือกระสุนปืนไว้ เมื่อทหารได้ทำการสู้รบ ถ้าทหารที่ถือปืนตาย ทหารที่มีกระสุนปืนก็จะเก็บปืนมาใช้ ถ้าทหารที่ถือกระสุนตาย คนที่ถือปืนก็จะเก็บกระสุนมาใช้เช่นกัน นอกจากนั้นเมื่อนายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งให้กองทหารทำการบุกตะลุยเข้าหากองทัพเยอรมัน กองทัพเยอรมันซึ่งเต็มไปด้วยปืนกลหนัก 42 ยิงเข้าใส่ทำให้ทหารรัสเซียเสียชีวิตจำนวนมาก กองทหารที่เหลือรอดชีวิตได้วิ่งหันหลังกลับไปยังฐานแต่นายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งให้บุกต่อไปและห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว ถ้าฝ่าฝืนจะต้องถูกยิงทิ้งอย่างไร้ความปราณี แต่ทหารรัสเซียไม่สนใจและจะวิ่งกลับฐานให้ได้ นายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งทหารให้ยิงใส่ทันที ทำให้ทหารที่รอดชีวิตกลับต้องถูกฆ่าตายหมดสิ้นด้วยน้ำมือของทหารฝ่ายเดียวกันเองเพราะสตาลินได้เดิมพันกับศึกในครั้งนี้มากจึงต้องยอมแลกชีวิตทหารนับล้านเข้าให้ และจะไม่มีวันยอมแพ้อย่างเด็ดขาด ดังนั้นจึงได้ออก[[คำสั่งที่ 227]] คือ '''ห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว''' คือ ทหารรัสเซียทุกนายให้สู้จนตัวตายและห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว หากฝ่าฝืนจะต้องถูกตราหน้าว่าขี้ขลาดตาขาวและต้องถูกยิงทิ้งสถานเดียวอย่างไร้ความปราณีโดยได้มอบหมายอำนาจให้กับเจ้าหน้าที่คอมมิสซาร์ผู้มีอำนาจสูงสุดเป็นคนจัดการ
ในยุทธการสตาลินกราดนั้น มีเรื่องเล่าว่า ระหว่างการรบ กองทัพแดงกำลังขาดแคลนกระสุนปืนที่จะให้กับเหล่าทหารเกณฑ์ใหม่ในการสู้รบกับทหารเยอรมัน แต่ทางกองทัพได้แก้ไขปัญหาคือ ให้คนหนึ่งถือปืนไรเฟิล mosin nagant โดยไม่มีกระสุน กับคนหนึ่งถือกระสุนปืนไว้ เมื่อทหารได้ทำการสู้รบ ถ้าทหารที่ถือปืนตาย ทหารที่มีกระสุนปืนก็จะเก็บปืนมาใช้ ถ้าทหารที่ถือกระสุนตาย คนที่ถือปืนก็จะเก็บกระสุนมาใช้เช่นกัน นอกจากนั้นเมื่อนายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งให้กองทหารทำการบุกตะลุยเข้าหากองทัพเยอรมัน กองทัพเยอรมันซึ่งเต็มไปด้วยปืนกลหนัก 42 ยิงเข้าใส่ทำให้ทหารรัสเซียเสียชีวิตจำนวนมาก กองทหารที่เหลือรอดชีวิตได้วิ่งหันหลังกลับไปยังฐานแต่นายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งให้บุกต่อไปและห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว ถ้าฝ่าฝืนจะต้องถูกยิงทิ้งอย่างไร้ความปราณี แต่ทหารรัสเซียไม่สนใจและจะวิ่งกลับฐานให้ได้ นายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งทหารให้ยิงใส่ทันที ทำให้ทหารที่รอดชีวิตกลับต้องถูกฆ่าตายหมดสิ้นด้วยน้ำมือของทหารฝ่ายเดียวกันเองเพราะสตาลินได้เดิมพันกับศึกในครั้งนี้มากจึงต้องยอมแลกชีวิตทหารนับล้านเข้าให้ และจะไม่มีวันยอมแพ้อย่างเด็ดขาด ดังนั้นจึงได้ออก[[คำสั่งที่ 227]] คือ '''ห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว''' คือ ทหารรัสเซียทุกนายให้สู้จนตัวตายและห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว หากฝ่าฝืนจะต้องถูกตราหน้าว่าขี้ขลาดตาขาวและต้องถูกยิงทิ้งสถานเดียวอย่างไร้ความปราณีโดยได้มอบหมายอำนาจให้กับเจ้าหน้าที่คอมมิสซาร์ผู้มีอำนาจสูงสุดเป็นคนจัดการ

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:20, 12 มิถุนายน 2559

ยุทธการที่สตาลินกราด
สถานที่
{{{place}}}

ยุทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ โวลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) นาซีเยอรมนีมีจุดประสงค์ในการเข้ายึดครองคือเข้ายึดศูนย์กลางโรงงานผลิตการสงครามของโซเวียต, เพื่อใช้เป็นฐานทัพในการเข้ายึดบ่อน้ำมันในเทือกเขาคอเคซัสจากภาคใต้ และทำลายขวัญกำลังใจของกองทัพแดง ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1942 ถึง 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943[1][2][3][4] ยุทธการสตาลินกราดเป็นยุทธการใหญ่ที่สุดบนแนวรบด้านตะวันออก และได้รับความสนใจเพราะความป่าเถื่อนและไม่สนใจต่อความสูญเสียทั้งทางทหารและพลเรือน นอกจากนี้ ยังเป็นหนึ่งในยุทธการนองเลือดที่สุดในประวัติศาสตร์การสงคราม โดยมีการประเมินความสูญเสียทั้งสองฝ่ายรวมกันขั้นสูงไว้เกือบสองล้านนาย ความสูญเสียอย่างหนักที่กองทัพเยอรมนีประสบนับเป็นจุดพลิกผันของสงคราม[5] หลังยุทธการสตาลินกราด กำลังเยอรมันไม่อาจฟื้นคืนยอดอย่างเมื่อก่อนได้อีก และไม่บรรลุชัยชนะทางยุทธศาสตร์ในทางตะวันออกอีกเลย[6]

เยอรมนีรุกเพื่อยึดสตาลินกราดเริ่มตั้งแต่ปลายฤดูร้อน ค.ศ. 1942 และได้รับการสนับสนุนจากการทิ้งระเบิดโดยกองทัพอากาศอย่างเข้มข้น ซึ่งทำให้พื้นที่ขนาดใหญ่ของนครกลายเป็นซากปรักหักพัง ท้ายที่สุด การรุกของเยอรมนีกลายมาติดหล่มการสู้รบอาคารต่ออาคาร และแม้จะควบคุมพื้นที่ของนครได้กว่า 90% ในบางครั้ง กองทัพเยอรมันกลับไม่สามารถขับไล่ผู้ป้องกันฝ่ายโซเวียตกลุ่มสุดท้ายที่ยึดฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโวลกาอย่างเหนียวแน่น

วันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1942 กองทัพแดงเปิดฉากปฏิบัติการยูเรนัส การโจมตีสองง่ามโดยมีเป้าหมายต่อกำลังพลโรมาเนียและฮังการีที่อ่อนแอ ซึ่งกำลังป้องกันปีกของกองทัพที่ 6 หลังจากมีการสู้รบอย่างหนัก ความสำเร็จของการโจมตีเหล่านี้ส่งผลให้ปีกที่ยึดไว้อย่างหลวม ๆ พังลง และกองทัพที่ 6 ถูกตัดขาดและล้อมในสตาลินกราด เมื่อฤดูหนาวของรัสเซียมาถึง กองทัพที่ 6 ก็อ่อนกำลังลงอย่างรวดเร็วจากความหนาว เนื่องจากขาดเสบียงอาหาร การโจมตีอย่างต่อเนื่องของโซเวียต ความกำกวมของการบังคับบัญชา ประกอบกับความเชื่อแน่แน่วใน "พลังแห่งการตั้งเจตนา" (power of the will) ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และค่านิยม "การยืนหยัด" (standing fast) ยิ่งเสริมฐานะยากลำบากของนาซีเยอรมนีขึ้นไปอีก ท้ายที่สุด ความล้มเหลวของกำลังเยอรมนีนอกวงล้อมในการเปิดวงล้อม ร่วมกับความล้มเหลวในการส่งกำลังบำรุงทางอากาศ ทำให้เกิดการพังทลายขั้นสุดท้าย เมื่อถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943 การต้านทานของฝ่ายอักษะในสตาลินกราดยุติลงและส่วนที่เหลือของกองทัพที 6 ได้ยอมจำนนหรือไม่ก็ถูกทำลายไปก่อนหน้านั้นแล้ว[7]: p.932 

ในยุทธการสตาลินกราดนั้น มีเรื่องเล่าว่า ระหว่างการรบ กองทัพแดงกำลังขาดแคลนกระสุนปืนที่จะให้กับเหล่าทหารเกณฑ์ใหม่ในการสู้รบกับทหารเยอรมัน แต่ทางกองทัพได้แก้ไขปัญหาคือ ให้คนหนึ่งถือปืนไรเฟิล mosin nagant โดยไม่มีกระสุน กับคนหนึ่งถือกระสุนปืนไว้ เมื่อทหารได้ทำการสู้รบ ถ้าทหารที่ถือปืนตาย ทหารที่มีกระสุนปืนก็จะเก็บปืนมาใช้ ถ้าทหารที่ถือกระสุนตาย คนที่ถือปืนก็จะเก็บกระสุนมาใช้เช่นกัน นอกจากนั้นเมื่อนายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งให้กองทหารทำการบุกตะลุยเข้าหากองทัพเยอรมัน กองทัพเยอรมันซึ่งเต็มไปด้วยปืนกลหนัก 42 ยิงเข้าใส่ทำให้ทหารรัสเซียเสียชีวิตจำนวนมาก กองทหารที่เหลือรอดชีวิตได้วิ่งหันหลังกลับไปยังฐานแต่นายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งให้บุกต่อไปและห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว ถ้าฝ่าฝืนจะต้องถูกยิงทิ้งอย่างไร้ความปราณี แต่ทหารรัสเซียไม่สนใจและจะวิ่งกลับฐานให้ได้ นายพลแห่งกองทัพแดงได้สั่งทหารให้ยิงใส่ทันที ทำให้ทหารที่รอดชีวิตกลับต้องถูกฆ่าตายหมดสิ้นด้วยน้ำมือของทหารฝ่ายเดียวกันเองเพราะสตาลินได้เดิมพันกับศึกในครั้งนี้มากจึงต้องยอมแลกชีวิตทหารนับล้านเข้าให้ และจะไม่มีวันยอมแพ้อย่างเด็ดขาด ดังนั้นจึงได้ออกคำสั่งที่ 227 คือ ห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว คือ ทหารรัสเซียทุกนายให้สู้จนตัวตายและห้ามถอยแม้แต่ก้าวเดียว หากฝ่าฝืนจะต้องถูกตราหน้าว่าขี้ขลาดตาขาวและต้องถูกยิงทิ้งสถานเดียวอย่างไร้ความปราณีโดยได้มอบหมายอำนาจให้กับเจ้าหน้าที่คอมมิสซาร์ผู้มีอำนาจสูงสุดเป็นคนจัดการ

อ้างอิง

  1. McDougal Littell, (2006)
  2. Roberts (2006: 143)
  3. Biesinger (2006: 699)
  4. "Battle of Stalingrad". Encyclopædia Britannica.
  5. Taylor (1998) Vol IV, p. 142
  6. Bellamy, (2007)
  7. Shirer (1990)

แหล่งข้อมูลอื่น