ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกทาส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
== ละครเวที ==
== ละครเวที ==
* พ.ศ. 2536 ถูกนำไปสร้างเป็นละครเวทีเทิดพระเกียรติพระปิยมหาราช รายได้เพื่อจัดตั้งกองทุน ''สุวัฒน์ วรดิลก เพื่อธรรมศาสตร์'' บทละครเวทีโดย [[รพีพร]] (สุวัฒน์ วรดิลก) นำแสดงโดย [[บิณฑ์ บรรลือฤทธิ์]], [[กมลชนก โกมลฐิติ]], [[เพ็ญ พิสุทธิ์]] แสดงวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2536 (2 รอบ) ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
* พ.ศ. 2536 ถูกนำไปสร้างเป็นละครเวทีเทิดพระเกียรติพระปิยมหาราช รายได้เพื่อจัดตั้งกองทุน ''สุวัฒน์ วรดิลก เพื่อธรรมศาสตร์'' บทละครเวทีโดย [[รพีพร]] (สุวัฒน์ วรดิลก) นำแสดงโดย [[บิณฑ์ บรรลือฤทธิ์]], [[กมลชนก โกมลฐิติ]], [[เพ็ญ พิสุทธิ์]] แสดงวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2536 (2 รอบ) ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

== รายชื่อนักแสดง ==

{| class="wikitable"
|-
! ปี || พ.ศ. 2498 || พ.ศ. 2505 || พ.ศ. 2524 || พ.ศ. 2536 || พ.ศ. 2551 || พ.ศ. 2559
|-
| รูปแบบ || ภาพยนตร์ 16 มม. || ภาพยนตร์ 35 มม. || ละคร [[ช่อง 3]] || ละคร [[ช่อง 7]] || ละคร [[ช่อง 7]]|| ละคร [[ช่อง 3]]
|-
| ชื่อเรื่อง || นางทาษ || นางทาษ || นางทาส <ref>[http://www.facebook.com/media/set/?set=a.1054587281233316.1073741867.274603745898344&type=3 นางทาส (2524) ทางช่อง 3]</ref> || นางทาส || นางทาส || นางทาส
|-
| บทการแสดง || [[พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ]] || [[พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ]] || [[พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ]] || [[ศัลยา สุขขะนิวัตติ์|ศัลยา]] || [[รัมภา ภิรมย์ภักดี|ภาวิต]] || บทกร
|-
| ผู้กำกับ || [[พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ]] || [[พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ]] || [[อดุลย์ ดุลยรัตน์]] || [[ไพรัช สังวริบุตร]]<br>[[จรูญ ธรรมศิลป์]] || [[สยาม สังวริบุตร]]<br>[[สิทธิวัชร์ ทับแป้น]] || กิตติศักดิ์ ชีวาสัจจาสกุล
|-
| ขับร้อง (นางทาส)|| || || || [[ลัดดา แจ่มจ่าย]] || [[อนัยยา สารภักดิ์]] || [[วาทิยา รวยนิรัตน์]]
|-
| อีเย็น || [[วิไลวรรณ วัฒนพานิช]] || [[วิไลวรรณ วัฒนพานิช]] || [[รัชนู บุญชูดวง]] || [[มนฤดี ยมาภัย]] || [[สุวนันท์ คงยิ่ง]] || [[มทิรา ตันติประสุต]]
|-
| พระยาสีหโยธิน || [[สถาพร มุกดาประกร]] || [[ม.ร.ว.ประสิทธิ์ศักดิ์ สิงหรา]] || [[อดุลย์ ดุลยรัตน์]] || [[ลิขิต เอกมงคล]] || [[วีรภาพ สุภาพไพบูลย์]] || [[ณัฐวุฒิ สกิดใจ]]
|-
| คุณหญิงแย้ม || || [[กำจาย รัตนดิลก]] (ณ ภูเก็ต) || [[นันทวัน เมฆใหญ่]] || [[เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์]] || [[ปิยธิดา วรมุสิก]] || [[วิริฒิพา ภักดีประสงค์]]
|-
| คุณสาลี่ || [[สุพรรณ บูรณะพิมพ์]] || [[สุพรรณ บูรณะพิมพ์]] || [[ดวงดาว จารุจินดา]] || [[วรินทร์ เชยอรุณ]] || [[จีรนันท์ มะโนแจ่ม]] || [[หยาดทิพย์ ราชปาล]]
|-
| คุณบุญมี || || || || [[เสาวลักษณ์ ศรีอรัญญ์]] || [[อรวรรษา ฐานวิเศษ]] || [[รวีวรรณ บุญประชม]]
|-
| คุณจันอิน || || || || [[ศิตา เมธาวี]] || [[มนัญญา ตริยานนท์]] ||
|-
| อุ่นเรือน (หนูแดง) || || [[อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา]] || [[นิภาพร นงนุช]] || [[รัชนีกร พันธ์มณี]]<br>[[หยาดทิพย์ ราชปาล]] (ตอนเด็ก) || [[ธันย์ชนก ฤทธินาคา]] ||ด.ญ.นภัธนันท์ นิมจิรวัฒน์ <br> ด.ญ.ชนัญญา เลิศวัฒนามงคล (ตอนเด็ก )
|-
| ละออ || || || || [[กชกร นิมากรณ์]] || [[ธัญสินี พรมสุทธิ์]] ||
|-
| โอฬาร / ทับ || || [[อดุลย์ ดุลยรัตน์]] || [[ดิลก ทองวัฒนา]] || [[พลรัตน์ รอดรักษา]] || [[ชนะพล สัตยา]] ||
|-
| ยายฟัก || || || [[จุรี โอศิริ]] || [[บรรเจิดศรี ยมาภัย]] || [[ดวงดาว จารุจินดา]] || [[ขวัญฤดี กลมกล่อม]]
|-
| ยายใบ || || || || [[เมตตา รุ่งรัตน์]] || [[อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา]] ||
|-
| อีแอบ || || || || [[จันทนา ศิริผล]] || [[พจนีย์ ใยละออ]] || [[วิรากานต์ เสณีตันติกุล]]
|-
| อีป่วน || || || || || [[นริสา พรหมสุภา]] ||
|-
| อีบุ้ง (ลูกสาวยายใบ) || || || || [[มนทิพย์ พันธุ์เพ็ง]] || [[จารุศิริ ภูวนัย]] ||
|-
| คุณหญิงยิ้ม || || || || [[สุดารัตน์ เดชากุล]] || [[รชยา รักกสิกรณ์]] ||
|-
| พระยาอภัยรณฤทธิ์ (สามีคุณหญิงยิ้ม) || || || || [[พอเจตน์ แก่นเพชร]] || [[ปราบ ยุทธพิชัย]] ||
|-
| ยิ่ง (พ่ออีเย็น) || || || ||[[วิทยา สุขดำรงค์]] || [[เฉลิมพร พุ่มพันธ์วงศ์]] || [[เวนย์ ฟอลโคเนอร์]]
|-
| ล้วน (แม่อีเย็น) || || || || [[นัยนา คชแสง]] ||[[ปนัดดา โกมารทัต]] || [[ปริศนา กล่ำพินิจ]]
|-
| ยืม (พี่ชายอีเย็น) || || || || [[ปรีชา เกตุดำ]] || [[วรพรต ชะเอม]] || [[ชัชวาล เพชรวิศิษฐ์]]
|-
| คล้อย (ญาติคุณสาลี่) || || || || [[มาฬิศร์ เชยโสภณ]] || [[สุรวุฑ ไหมกัน]] ||
|-
| เที่ยง || || || || || || [[ดนัย จารุจินดา]]
|-
| พระมหาเทพ || || || || || || [[เกียรติกมล ล่าทา]]
|-
| บุญมา (พี่ชายบุญมี) || || || || || || [[วริษฐ์ ทิพโกมุท]]
|-
| นมแสง || || || || || || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]]
|-
| ม้วน || || || || || || [[ธารธารา รุ่งเรือง]]
|-
| แรม || || || || || || [[ภัทรวดี ปิ่นทอง]]
|-
| เครา|| || || || || || [[นิรุติ สาวสุดชาติ]]
|-
| ขาว || || || || || || [[ปุณยวีร์ ปัจจันตโฆษิต ]]
|-
| ขุนปราบ || || || || || || [[ธนาวุฒิ เกสโร]]
|-
| ทนาย || || || || || || [[กิตติพล เกศมณี]]
|-
| คุณรุ่ง || || || || || || ด.ช. ปัญกร จันทรศร
|-
| แม่ของพระยาสีหโยธิน || || || || || || [[ชลมารค ธ.เชียงทอง]]
|-
|}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:15, 27 พฤษภาคม 2559

ลูกทาส (2507)

ลูกทาส เป็นวรรณกรรมอมตะอิงประวัติศาสตร์ เป็นผลงานที่โดดเด่นอีกชิ้นหนึ่งของ รพีพร (สุวัฒน์ วรดิลก) ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2506 ในหนังสือพิมพ์รายปักษ์ เดลิเมล์วันจันทร์ เล่าถึงชีวิตลูกทาสที่ดิ้นรนต่อสู้จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และ ได้ครองคู่กับหญิงสาวสูงศักดิ์ที่หมายปอง

ลูกทาส ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2508 ของคณะนาฏศิลปสัมพันธ์ ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม โดย สัมพันธ์ พันธุ์มณี ได้ติดต่อผู้ประพันธ์ (ซึ่งขณะนั้นติดคุกคดีกบถเสรีภาพ) เพื่อขอให้จดทำบทสำหรับแสดงทางทีวี โดยส่งงานออกมาทางปิ่นโตกับข้าว[1] ตามด้วยกมลศิลป์ภาพยนตร์สร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกประสบความสำเร็จอย่างยิ่ง [2] และยังได้รางวัลตุ๊กตาทองบทประพันธ์ยอดเยี่ยมกับรางวัลเพลงประกอบในงานตุ๊กตาทองประจำปี พ.ศ. 2508 ได้รับความนิยมมากเช่นเดียวกัน หลังจากนั้นมีการนำมาสร้างเป็นภาพนยตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายครั้ง

เนื้อเรื่อง

ในปี พ.ศ. 2428 เป็นเรื่องราวของ แก้ว ทาสในเรือนของพระยาไชยากร เขาพยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่อจะพ้นสภาพการเป็นทาส ในยุคแห่งกระบวนการเลิกทาสในสมัยของพระปิยะมหาราช (รัชกาลที่ 5) ในราชวงศ์จักรีที่เริ่มมีการประกาศเลิกทาสและเกษียณอายุลุกทาสในแต่ละช่วงอายุ หากแต่นายเงินของแก้วนั้นไม่ยอมให้ความเป็นไทแก่บรรดาเหล่าทาสในครอบครอง แก้วจึงดิ้นรนและไข่วคว้าอิสรภาพที่เขาสมควรได้ ขณะเดียวกันก็ใฝ่หาความรู้ เพื่อการทำงานหลังจากเป็นไท เพื่อยกฐานะของตนเองขึ้นมาให้ทัดเทียมกับคุณน้ำทิพย์ หญิงสาวสูงศักดิ์ที่เป็นแรงใจให้เขามาตลอด

ตัวละคร

  • แก้ว หรือ หลวงรัตนะอรรถชัย ลูกชายคนเดียวของก้านและกิ่ง เป็นลูกทาสในเรือนหลวงไชยานุกร เมื่อเติบโตขึ้นจึงแอบเล่าเรียนวิชาในด้านของวิชากฎหมายที่เรือนคุณพระนิติธรรมลือชา แม้จะถูดขัดขวางทุกวิถีทางจากพระยาไชยากร ในด้านของความรักนั้นเขามีใจมั่นคงต่อคุณน้ำทิพย์
  • คุณน้ำทิพย์ หญิงสาวเรียบร้อย อ่อนหวาน บุตรีของพระยาไชยากร เพียบพร้อมในทุกๆด้านมีความรักบริสุทธิ์ให้กับแก้ว แม้ฐานะของเธอและเขาจะเแตกต่างกันจากฐานะนายและทาส และเป็นแรงบันดาลใจให้แก้วพยายามฝ่าฟันให้ได้เป็นข้าราชการจนสำเร็จ
  • บุญเจิม ทาสสาวแสนสวยในเรือนของพระยาไชยากรหลงรักและมีใจให้กับแก้วด้วยความเจ็บปวดที่ความรักไม่สมหวัง จึงนำความของทั้งสองคนมาบอกกับบุญมีพี่ชายผู้มีความจงรักภักดีต่อพระยาไชยากรเพื่อแก้แค้นทั้งสองคน
  • มาโนช หลานชายคนโปรดของพระยาไชยากร ชายหนุ่มผู้เพียบพร้อมแต่กลับทำตัวหยาบช้าหลงใหลในอำนาจวาสนาใช้ทุกหนทางแม้จะเลวร้าย เพื่อทำให้คุณน้ำทิพย์ หญิงสาวที่เขาหมายปองเป็นภรรยาของเขาให้ได้

นักแสดงนำ

รูปแบบการนำเสนอ แก้ว คุณน้ำทิพย์ บุญเจิม มาโนช
ภาพยนตร์ พ.ศ. 2507 ไชยา สุริยัน รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง พิศมัย วิไลศักดิ์ ประจวบ ฤกษ์ยามดี
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2508 กำธร สุวรรณปิยะศิริ อารีย์ นักดนตรี บุศรา นฤมิตร สมจินต์ ธรรมทัต
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2521 นิรุตติ์ ศิริจรรยา รัชนู บุญชูดวง กรรณิการ์ ธรรมเกษร
ภาพยนตร์ พ.ศ. 2522 สรพงศ์ ชาตรี วงเดือน อินทราวุธ นันทนา เงากระจ่าง เศรษฐา ศิระฉายา
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2532 เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ อลิษา ขจรไชยกุล ปัทมา ปานทอง วีรยุทธ รสโอชา
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2544 เกริกพล มัสยวาณิช สิริยากร พุกกะเวส เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ กรรชัย กำเนิดพลอย
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2557 ภูภูมิ พงศ์ภาณุ ราณี แคมเปน กมลเนตร เรืองศรี วริษฐ์ ทิพโกมุท

ภาพยนตร์

ละครโทรทัศน์

ลูกทาส เคยถูกดัดแปลงมาเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 5 ครั้ง ได้แก่

ละครเวที

  • พ.ศ. 2536 ถูกนำไปสร้างเป็นละครเวทีเทิดพระเกียรติพระปิยมหาราช รายได้เพื่อจัดตั้งกองทุน สุวัฒน์ วรดิลก เพื่อธรรมศาสตร์ บทละครเวทีโดย รพีพร (สุวัฒน์ วรดิลก) นำแสดงโดย บิณฑ์ บรรลือฤทธิ์, กมลชนก โกมลฐิติ, เพ็ญ พิสุทธิ์ แสดงวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2536 (2 รอบ) ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รายชื่อนักแสดง

ปี พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2536 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2559
รูปแบบ ภาพยนตร์ 16 มม. ภาพยนตร์ 35 มม. ละคร ช่อง 3 ละคร ช่อง 7 ละคร ช่อง 7 ละคร ช่อง 3
ชื่อเรื่อง นางทาษ นางทาษ นางทาส [10] นางทาส นางทาส นางทาส
บทการแสดง พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ศัลยา ภาวิต บทกร
ผู้กำกับ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ อดุลย์ ดุลยรัตน์ ไพรัช สังวริบุตร
จรูญ ธรรมศิลป์
สยาม สังวริบุตร
สิทธิวัชร์ ทับแป้น
กิตติศักดิ์ ชีวาสัจจาสกุล
ขับร้อง (นางทาส) ลัดดา แจ่มจ่าย อนัยยา สารภักดิ์ วาทิยา รวยนิรัตน์
อีเย็น วิไลวรรณ วัฒนพานิช วิไลวรรณ วัฒนพานิช รัชนู บุญชูดวง มนฤดี ยมาภัย สุวนันท์ คงยิ่ง มทิรา ตันติประสุต
พระยาสีหโยธิน สถาพร มุกดาประกร ม.ร.ว.ประสิทธิ์ศักดิ์ สิงหรา อดุลย์ ดุลยรัตน์ ลิขิต เอกมงคล วีรภาพ สุภาพไพบูลย์ ณัฐวุฒิ สกิดใจ
คุณหญิงแย้ม กำจาย รัตนดิลก (ณ ภูเก็ต) นันทวัน เมฆใหญ่ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ ปิยธิดา วรมุสิก วิริฒิพา ภักดีประสงค์
คุณสาลี่ สุพรรณ บูรณะพิมพ์ สุพรรณ บูรณะพิมพ์ ดวงดาว จารุจินดา วรินทร์ เชยอรุณ จีรนันท์ มะโนแจ่ม หยาดทิพย์ ราชปาล
คุณบุญมี เสาวลักษณ์ ศรีอรัญญ์ อรวรรษา ฐานวิเศษ รวีวรรณ บุญประชม
คุณจันอิน ศิตา เมธาวี มนัญญา ตริยานนท์
อุ่นเรือน (หนูแดง) อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา นิภาพร นงนุช รัชนีกร พันธ์มณี
หยาดทิพย์ ราชปาล (ตอนเด็ก)
ธันย์ชนก ฤทธินาคา ด.ญ.นภัธนันท์ นิมจิรวัฒน์
ด.ญ.ชนัญญา เลิศวัฒนามงคล (ตอนเด็ก )
ละออ กชกร นิมากรณ์ ธัญสินี พรมสุทธิ์
โอฬาร / ทับ อดุลย์ ดุลยรัตน์ ดิลก ทองวัฒนา พลรัตน์ รอดรักษา ชนะพล สัตยา
ยายฟัก จุรี โอศิริ บรรเจิดศรี ยมาภัย ดวงดาว จารุจินดา ขวัญฤดี กลมกล่อม
ยายใบ เมตตา รุ่งรัตน์ อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา
อีแอบ จันทนา ศิริผล พจนีย์ ใยละออ วิรากานต์ เสณีตันติกุล
อีป่วน นริสา พรหมสุภา
อีบุ้ง (ลูกสาวยายใบ) มนทิพย์ พันธุ์เพ็ง จารุศิริ ภูวนัย
คุณหญิงยิ้ม สุดารัตน์ เดชากุล รชยา รักกสิกรณ์
พระยาอภัยรณฤทธิ์ (สามีคุณหญิงยิ้ม) พอเจตน์ แก่นเพชร ปราบ ยุทธพิชัย
ยิ่ง (พ่ออีเย็น) วิทยา สุขดำรงค์ เฉลิมพร พุ่มพันธ์วงศ์ เวนย์ ฟอลโคเนอร์
ล้วน (แม่อีเย็น) นัยนา คชแสง ปนัดดา โกมารทัต ปริศนา กล่ำพินิจ
ยืม (พี่ชายอีเย็น) ปรีชา เกตุดำ วรพรต ชะเอม ชัชวาล เพชรวิศิษฐ์
คล้อย (ญาติคุณสาลี่) มาฬิศร์ เชยโสภณ สุรวุฑ ไหมกัน
เที่ยง ดนัย จารุจินดา
พระมหาเทพ เกียรติกมล ล่าทา
บุญมา (พี่ชายบุญมี) วริษฐ์ ทิพโกมุท
นมแสง พิศมัย วิไลศักดิ์
ม้วน ธารธารา รุ่งเรือง
แรม ภัทรวดี ปิ่นทอง
เครา นิรุติ สาวสุดชาติ
ขาว ปุณยวีร์ ปัจจันตโฆษิต
ขุนปราบ ธนาวุฒิ เกสโร
ทนาย กิตติพล เกศมณี
คุณรุ่ง ด.ช. ปัญกร จันทรศร
แม่ของพระยาสีหโยธิน ชลมารค ธ.เชียงทอง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง