ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามดิสคัฟเวอรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
* แอมเวย์
* แอมเวย์
* ดิสคัฟเวอรี ฮับบา
* ดิสคัฟเวอรี ฮับบา
* อาษาเซ็นเตอร์ โดย [[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]]
* เวอร์จิ้น แอคทีฟ ฟิตเนส (เปิดให้บริการในเดือนสิงหาคม 2559)
* เวอร์จิ้น แอคทีฟ ฟิตเนส (เปิดให้บริการในเดือนสิงหาคม 2559)
* [[มาดามทุซโซต์ กรุงเทพฯ|พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งมาดามทุซโซต์ กรุงเทพฯ]]
* [[มาดามทุซโซต์ กรุงเทพฯ|พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งมาดามทุซโซต์ กรุงเทพฯ]]
โดยมีทางเชื่อมไปยัง[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม|รถไฟฟ้าบีทีเอส]] [[สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ]] ที่ชั้นเอ็ม และทางเชื่อมไป
โดยมีทางเชื่อมไปยัง[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม|รถไฟฟ้าบีทีเอส]] [[สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ]] ที่ชั้นเอ็ม และทางเชื่อมไป[[สยามเซ็นเตอร์]]ที่ชั้น 2
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:10, 25 พฤษภาคม 2559

สยามดิสคัฟเวอรี
แผนที่
สยามดิสคัฟเวอรี่เซ็นเตอร์ก่อนการปรับปรุงครั้งใหญ่

ศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี (Siam Discovery) เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในประเทศไทย บริการงานโดยสยามพิวรรธน์ เปิดตัวเมื่อเมษายน 2540 ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกปทุมวัน เป็นศูนย์การค้าภายใต้แนวคิด "Lifestyle shopping" ในแต่ละชั้นจะนำเสนอสินค้าประเภทเดียวหรือแนวคิดเดียว (One Floor One Concept) ซึ่งเป็นต้นแบบให้กับเอ็มโพเรียม และสยามพารากอน

จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2558 มีลูกค้าวันละ 80,000 คน[1] ในปีเดียวกันนี้ สยามพิวรรธน์มีโครงการปรับปรุงศูนย์การค้าให้มีความแตกต่างจากศูนย์การค้าอื่น ๆ ในย่านเดียวกัน เริ่มปรับปรุงการตกแต่งอาคารตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2558 และเปิดให้บริการอีกครั้งในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2559[2][3]

การจัดสรรพื้นที่

สยามดิสคัฟเวอรี เป็นศูนย์การค้าอาคารเดี่ยว ความสูง 8 ชั้น พื้นที่ 40,000 ตารางเมตร โดยมีพื้นที่สำคัญดังนี้[4]

โดยมีทางเชื่อมไปยังรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ที่ชั้นเอ็ม และทางเชื่อมไปสยามเซ็นเตอร์ที่ชั้น 2

อ้างอิง