ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tatunlatorn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tatunlatorn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
'''สมเด็จพระบรมราชาที่ 4''' หรือ'''สมเด็จพระมหินทราชา''' พระนามเดิมว่านักพระสัตถาหรือนักพระสัฏฐา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชาในสมัยที่กรุงละแวกเป็นราชธานี ประสูติราว พ.ศ. 2083 ครองราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2119- 2137 เป็นพระโอรสของ[[สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)|สมเด็จพระบรมราชาที่ 3]] ในรัชกาลของพระองค์นั้น ได้ทำสงครามขับเคี่ยวกับสยามหลายครั้ง ก่อนจะรบแพ้[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]] จนเสียกรุงละแวกให้สยาม
'''สมเด็จพระบรมราชาที่ 4''' หรือ'''สมเด็จพระมหินทราชา''' พระนามเดิมว่านักพระสัตถาหรือนักพระสัฏฐา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชาในสมัยที่กรุงละแวกเป็นราชธานี ประสูติราว พ.ศ. 2083 ครองราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2119- 2137 เป็นพระโอรสของ[[สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)|สมเด็จพระบรมราชาที่ 3]] ในรัชกาลของพระองค์นั้น ได้ทำสงครามขับเคี่ยวกับสยามหลายครั้ง ก่อนจะรบแพ้[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]] จนเสียกรุงละแวกให้สยาม


ใน พ.ศ. 2121 และ พ.ศ. 2124 สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ทรงยกทัพเรือมาโจมตี[[เพชรบุรี]]ในสมัย[[สมเด็จพระมหาธรรมราชา]] โดยใน พ.ศ. 2121 นั้นตีไม่สำเร็จ เจ้าพระยาจีนจันตุ แม่ทัพฝ่ายละแวกเกรงทัณฑ์บน เข้ามาสวามิภักดิ์กับกรุงศรีอยุธยาก่อนจะลอบหนีกลับไปภายหลัง ส่วนใน พ.ศ. 2124 ตีเมืองเพชรบุรีได้สำเร็จ เจ้าเมืองเพชรบุรีเสียชีวิต ฝ่ายเขมรจึงกวาดต้อนครอบครัวกลับไปกรุงละแวกเป็นอันมาก ในปีถิดมาคือ พ.ศ. 2125 สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้แต่งทัพมากวาดต้อนผู้คนทางหัวเมืองตะวันออก สมเด็จพระนเรศวรซึ่งขณะนั้นยังเป็นพระมหาอุปราช ได้นำทัพไปตีทัพเมืองละแวกแตกไป หลังจากนั้น กรุงละแวกได้ส่งพระราชสาสน์ขอเป็นไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา และได้ปักปันเขตแดนไว้ที่ด่านพระจารึก สงครามระหว่างสยามกับกัมพูชาจึงสงบลง <ref>เรียบเรียงตามข้อมูลจากเอกสารผ่ายไทยที่กล่าวถึงในศานติ (2554) ส่วนหลักฐานฝ่ายกัมพูชาไม่ระบุถึงสงครามใน พ.ศ. 2121 และ 2125 ส่วนเหตุการณ์ใน พ.ศ. 2124 และการเป็นไมตรี หลักฐานฝ่ายกัมพูชาระบุศักราชตรงกับรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาที่ 3</ref> หลังจากทำสัญญาเป็นไมตรีกันแล้ว เมื่อเกิดศึกหงสาวดีขึ้นอีก สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 โปรดให้พระอนุชาคือพระศรีสุพรรณมาธิราชหรือพระศรีสุริโยพรรณมาช่วยราชการสงคราม แต่ระหว่างสงครามนั้น พระศรีสุพรรณมาธิราชมีเหตุให้ผิดใจกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทำให้ขาดทางพระราชไมตรีนับแต่นั้น และเกิดสงครามระหว่างสยามและกัมพูชาต่อมาอีก
ใน พ.ศ. 2121 และ พ.ศ. 2124 สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ทรงยกทัพเรือมาโจมตี[[เพชรบุรี]]ในสมัย[[สมเด็จพระมหาธรรมราชา]] โดยใน พ.ศ. 2121 นั้นตีไม่สำเร็จ เจ้าพระยาจีนจันตุ แม่ทัพฝ่ายละแวกเกรงทัณฑ์บน เข้ามาสวามิภักดิ์กับกรุงศรีอยุธยาก่อนจะลอบหนีกลับไปภายหลัง ส่วนใน พ.ศ. 2124 ตีเมืองเพชรบุรีได้สำเร็จ เจ้าเมืองเพชรบุรีเสียชีวิต ฝ่ายเขมรจึงกวาดต้อนครอบครัวกลับไปกรุงละแวกเป็นอันมาก ในปีถัดมาคือ พ.ศ. 2125 สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้แต่งทัพมากวาดต้อนผู้คนทางหัวเมืองตะวันออก สมเด็จพระนเรศวรซึ่งขณะนั้นยังเป็นพระมหาอุปราช ได้นำทัพไปตีทัพเมืองละแวกแตกไป หลังจากนั้น กรุงละแวกได้ส่งพระราชสาสน์ขอเป็นไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา และได้ปักปันเขตแดนไว้ที่ด่านพระจารึก สงครามระหว่างสยามกับกัมพูชาจึงสงบลง <ref>เรียบเรียงตามข้อมูลจากเอกสารผ่ายไทยที่กล่าวถึงในศานติ (2554) ส่วนหลักฐานฝ่ายกัมพูชาไม่ระบุถึงสงครามใน พ.ศ. 2121 และ 2125 ส่วนเหตุการณ์ใน พ.ศ. 2124 และการเป็นไมตรี หลักฐานฝ่ายกัมพูชาระบุศักราชตรงกับรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาที่ 3</ref> หลังจากทำสัญญาเป็นไมตรีกันแล้ว เมื่อเกิดศึกหงสาวดีขึ้นอีก สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 โปรดให้พระอนุชาคือพระศรีสุพรรณมาธิราชหรือพระศรีสุริโยพรรณมาช่วยราชการสงคราม แต่ระหว่างสงครามนั้น พระศรีสุพรรณมาธิราชมีเหตุให้ผิดใจกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทำให้ขาดทางพระราชไมตรีนับแต่นั้น และเกิดสงครามระหว่างสยามและกัมพูชาต่อมาอีก


ใน พ.ศ. 2129 ในรัชกาลสมเด็จพระมหาธรรมราชา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชในขณะที่ยังเป็นพระมหาอุปราช ได้ยกทัพไปตีกรุงละแวก แต่ไม่สามารถตีหักเอากรุงละแวกได้ จึงเลิกทัพกลับมา ใน พ.ศ. 2130 เมื่อมีทัพหงสาวดีมาโจมตีกรุงศรีอยุธยาอีก สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้ยกทัพมาตีหัวเมืองตะวันออกของสยาม เข้ามาถึงเมือง[[นครนายก]] พระยาศรีไสยณรงค์ และพระยาศรีราชเดโชเป็นแม่ทัพออกไปตีทัพกรุงละแวกแตกไป
ใน พ.ศ. 2129 ในรัชกาลสมเด็จพระมหาธรรมราชา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชในขณะที่ยังเป็นพระมหาอุปราช ได้ยกทัพไปตีกรุงละแวก แต่ไม่สามารถตีหักเอากรุงละแวกได้ จึงเลิกทัพกลับมา ใน พ.ศ. 2130 เมื่อมีทัพหงสาวดีมาโจมตีกรุงศรีอยุธยาอีก สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้ยกทัพมาตีหัวเมืองตะวันออกของสยาม เข้ามาถึงเมือง[[นครนายก]] พระยาศรีไสยณรงค์ และพระยาศรีราชเดโชเป็นแม่ทัพออกไปตีทัพกรุงละแวกแตกไป

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:16, 23 พฤษภาคม 2559

สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรือสมเด็จพระมหินทราชา พระนามเดิมว่านักพระสัตถาหรือนักพระสัฏฐา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชาในสมัยที่กรุงละแวกเป็นราชธานี ประสูติราว พ.ศ. 2083 ครองราชสมบัติระหว่าง พ.ศ. 2119- 2137 เป็นพระโอรสของสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 ในรัชกาลของพระองค์นั้น ได้ทำสงครามขับเคี่ยวกับสยามหลายครั้ง ก่อนจะรบแพ้สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จนเสียกรุงละแวกให้สยาม

ใน พ.ศ. 2121 และ พ.ศ. 2124 สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ทรงยกทัพเรือมาโจมตีเพชรบุรีในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา โดยใน พ.ศ. 2121 นั้นตีไม่สำเร็จ เจ้าพระยาจีนจันตุ แม่ทัพฝ่ายละแวกเกรงทัณฑ์บน เข้ามาสวามิภักดิ์กับกรุงศรีอยุธยาก่อนจะลอบหนีกลับไปภายหลัง ส่วนใน พ.ศ. 2124 ตีเมืองเพชรบุรีได้สำเร็จ เจ้าเมืองเพชรบุรีเสียชีวิต ฝ่ายเขมรจึงกวาดต้อนครอบครัวกลับไปกรุงละแวกเป็นอันมาก ในปีถัดมาคือ พ.ศ. 2125 สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้แต่งทัพมากวาดต้อนผู้คนทางหัวเมืองตะวันออก สมเด็จพระนเรศวรซึ่งขณะนั้นยังเป็นพระมหาอุปราช ได้นำทัพไปตีทัพเมืองละแวกแตกไป หลังจากนั้น กรุงละแวกได้ส่งพระราชสาสน์ขอเป็นไมตรีกับกรุงศรีอยุธยา และได้ปักปันเขตแดนไว้ที่ด่านพระจารึก สงครามระหว่างสยามกับกัมพูชาจึงสงบลง [1] หลังจากทำสัญญาเป็นไมตรีกันแล้ว เมื่อเกิดศึกหงสาวดีขึ้นอีก สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 โปรดให้พระอนุชาคือพระศรีสุพรรณมาธิราชหรือพระศรีสุริโยพรรณมาช่วยราชการสงคราม แต่ระหว่างสงครามนั้น พระศรีสุพรรณมาธิราชมีเหตุให้ผิดใจกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทำให้ขาดทางพระราชไมตรีนับแต่นั้น และเกิดสงครามระหว่างสยามและกัมพูชาต่อมาอีก

ใน พ.ศ. 2129 ในรัชกาลสมเด็จพระมหาธรรมราชา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชในขณะที่ยังเป็นพระมหาอุปราช ได้ยกทัพไปตีกรุงละแวก แต่ไม่สามารถตีหักเอากรุงละแวกได้ จึงเลิกทัพกลับมา ใน พ.ศ. 2130 เมื่อมีทัพหงสาวดีมาโจมตีกรุงศรีอยุธยาอีก สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้ยกทัพมาตีหัวเมืองตะวันออกของสยาม เข้ามาถึงเมืองนครนายก พระยาศรีไสยณรงค์ และพระยาศรีราชเดโชเป็นแม่ทัพออกไปตีทัพกรุงละแวกแตกไป

ตั้งแต่ พ.ศ. 2127 เป็นต้นมา สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้ตั้งให้พระโอรสสองพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์ คือพระไชยเชษฐาที่ 1 และสมเด็จพระบรมราชาองค์ตน ทำให้กัมพูชามีกษัตริย์พร้อมกันถึงสามพระองค์ สร้างความไม่พอใจแก่ขุนนางเขมร ในพงศาวดารกัมพูชาฉบับพระองค์นพรัตน์ถึงกับระบุว่าพระองค์เสียพระติ เสวยแต่น้ำจัณฑ์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2134

ใน พ.ศ. 2136 หลังจากที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว ทรงยกทัพมาโจมตีกรุงละแวกอีก คราวนี้ ทรงตีเมืองละแวก และจับพระศรีสุริโยพรรณ และพระโอรสอีกสองพระองค์คือพระชัยเจษฎาและพระอุทัย นำตัวกลับไปกรุงศรีอยุธยา ส่วนสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 และพระมหากษัตริย์อีก 2 พระองค์หลบหนีไปได้ โดยครั้งแรกไปประทับที่เมืองเสร็ยสนทอร์หรือศรีสุนทร จากนั้นจึงหนีไปเมืองเชียงแตงหรือสตึงเตรง แล้วประชวรเป็นไข้สิ้นพระชนม์ที่นั่นเมื่อพระชนม์ได้ 54 พรรษา ใน พ.ศ. 2137[2] โดยสมเด็จพระชัยเชษฐาประชวรและสิ้นพระชนม์ไปด้วย เหลือแต่สมเด็จพระบรมราชาองค์ตน ต่อมาพระอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 ได้นำมาบรรจุไว้ที่เจดีย์ที่เขาพระราชทรัพย์ เมืองอุดงค์มีชัยในรัชกาลพระไชยเชษฐาที่ 2[3]

อ้างอิง

  • ศานติ ภักดีคำ. 2554. เขมรรบไทย. กทม. มติชน
  1. เรียบเรียงตามข้อมูลจากเอกสารผ่ายไทยที่กล่าวถึงในศานติ (2554) ส่วนหลักฐานฝ่ายกัมพูชาไม่ระบุถึงสงครามใน พ.ศ. 2121 และ 2125 ส่วนเหตุการณ์ใน พ.ศ. 2124 และการเป็นไมตรี หลักฐานฝ่ายกัมพูชาระบุศักราชตรงกับรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาที่ 3
  2. ตามหลักฐานของสเปนและกัมพูชา ดู ศานติ (2554)
  3. ศานติ ภักดีคำ. 2556. เขมรสมัยหลังพระนคร. กทม. มติชน