ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อานาโตเลีย"

พิกัด: 39°0′N 32°0′E / 39.000°N 32.000°E / 39.000; 32.000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6461953 สร้างโดย Fanclub25 (พูดคุย)
Fanclub25 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


เนื่องจากที่ตั้งของดินแดนนี้เชื่อมต่อระหว่างยุโรปและเอเชีย อานาโตเลียจึงเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมอันหลากหลาย มาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ โดยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนยุคหินใหม่ อย่างเช่น [[จาตัลเฮอยึก]] (Catal Höyük) (ชุมชนเครื่องปั้นดินเผายุคหินใหม่) [[จาเยอนือ]] (Cayönü) [[เนวาลีโจรี]] (Nevali Cori) [[ฮาจีลาร์]] (Hacilar) [[เกอเบกลีเตเป]] (Göbekli Tepe) และ [[เมอร์ซิน]] (Mersin) การตั้งถิ่นฐานของทรอยเริ่มในยุคหินตอนปลาย และต่อเนื่องไปในยุคโลหะ
เนื่องจากที่ตั้งของดินแดนนี้เชื่อมต่อระหว่างยุโรปและเอเชีย อานาโตเลียจึงเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมอันหลากหลาย มาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ โดยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนยุคหินใหม่ อย่างเช่น [[จาตัลเฮอยึก]] (Catal Höyük) (ชุมชนเครื่องปั้นดินเผายุคหินใหม่) [[จาเยอนือ]] (Cayönü) [[เนวาลีโจรี]] (Nevali Cori) [[ฮาจีลาร์]] (Hacilar) [[เกอเบกลีเตเป]] (Göbekli Tepe) และ [[เมอร์ซิน]] (Mersin) การตั้งถิ่นฐานของทรอยเริ่มในยุคหินตอนปลาย และต่อเนื่องไปในยุคโลหะ

[[ไฟล์:Tu-map.png|right|300px|thumb|แผนที่[[ประเทศตุรกี]]]]


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:34, 10 พฤษภาคม 2559

อานาโตเลีย (อังกฤษ: (Anatolia), กรีก: ανατολή [anatolē หรือ anatolí] หมายถึง "อาทิตย์อุทัย" หรือ "ตะวันออก") นิยมเรียกในภาษาละตินว่า เอเชียน้อย อีกด้วย เป็นดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ที่เชื่อมต่อระหว่างเอเชียกับยุโรป คาบสมุทรอานาโตเลียมีพื้นที่ประมาณ 757,000 ตร.กม.

เนื่องจากที่ตั้งของดินแดนนี้เชื่อมต่อระหว่างยุโรปและเอเชีย อานาโตเลียจึงเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมอันหลากหลาย มาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ โดยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนยุคหินใหม่ อย่างเช่น จาตัลเฮอยึก (Catal Höyük) (ชุมชนเครื่องปั้นดินเผายุคหินใหม่) จาเยอนือ (Cayönü) เนวาลีโจรี (Nevali Cori) ฮาจีลาร์ (Hacilar) เกอเบกลีเตเป (Göbekli Tepe) และ เมอร์ซิน (Mersin) การตั้งถิ่นฐานของทรอยเริ่มในยุคหินตอนปลาย และต่อเนื่องไปในยุคโลหะ

ดูเพิ่ม

39°0′N 32°0′E / 39.000°N 32.000°E / 39.000; 32.000