ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| ภาพ = [[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์คณะเกษตรศาสตร์ มช..gif|200px]]
| ภาพ = [[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์คณะเกษตรศาสตร์ มช..gif|200px]]
| วันที่ก่อตั้ง = [[25 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2510]]
| วันที่ก่อตั้ง = [[25 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2510]]
| คณบดี = '''รศ.ธีระ วิสิทธิ์พานิช'''<ref> [http://www.agri.cmu.ac.th/main/admin1_2556.asp คณบดีคนปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มช.] </ref>
| คณบดี = รศ.ธีระ วิสิทธิ์พานิช<ref> [http://www.agri.cmu.ac.th/main/admin1_2556.asp คณบดีคนปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มช.] </ref>
| สีประจำคณะ = {{color box|gold}} [[สีเหลือง|สีเหลืองข้าวโพด]]<ref> [http://www.agri.cmu.ac.th/main/intro.asp สีประจำคณะคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่] </ref>
| สีประจำคณะ = {{color box|gold}} [[สีเหลือง|สีเหลืองข้าวโพด]]<ref> [http://www.agri.cmu.ac.th/main/intro.asp สีประจำคณะคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่] </ref>
| สัญลักษณ์คณะ = ใช้ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้เพิ่มในส่วนชื่อและสีคณะ<ref> [http://www.agri.cmu.ac.th/main/intro.asp สัญลักษณ์คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่] </ref>
| สัญลักษณ์คณะ = ใช้ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้เพิ่มในส่วนชื่อและสีคณะ<ref> [http://www.agri.cmu.ac.th/main/intro.asp สัญลักษณ์คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่] </ref>
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| coor = {{Coord|18.802587|N|98.951556|E|region:TH_type:edu|display=inline, title}}
| coor = {{Coord|18.802587|N|98.951556|E|region:TH_type:edu|display=inline, title}}
}}
}}

'''คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่''' ได้จัดตั้งขึ้นตามประกาศ[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]แต่งตั้งเป็นคณะตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ [[25 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2510]] ให้เป็นหน่วยราชการระดับคณะ ซึ่งนับเป็นคณะที่ 5 ของ[[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] และแต่งตั้งให้อาจารย์ ดร.สุขุม อัศเวศน์ เป็นคณบดีคนแรกของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยในปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้แบ่งส่วนราชการเป็น 1 สำนักงานคณะ 3 ศูนย์ และ 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร และภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ
'''คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่''' ได้จัดตั้งขึ้นตามประกาศ[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]แต่งตั้งเป็นคณะตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ [[25 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2510]] ให้เป็นหน่วยราชการระดับคณะ ซึ่งนับเป็นคณะที่ 5 ของ[[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] และแต่งตั้งให้อาจารย์ ดร.สุขุม อัศเวศน์ เป็นคณบดีคนแรกของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยในปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้แบ่งส่วนราชการเป็น 1 สำนักงานคณะ 3 ศูนย์ และ 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร และภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:53, 16 เมษายน 2559

คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Faculty of Agriculture,Changmai University
สถาปนา25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510
คณบดีรศ.ธีระ วิสิทธิ์พานิช[1]
ที่อยู่
239 ถนนห้วยแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
วารสารวารสารเกษตร[2]
สี  สีเหลืองข้าวโพด[3]
มาสคอต
ใช้ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้เพิ่มในส่วนชื่อและสีคณะ[4]
เว็บไซต์http://www.agri.cmu.ac.th/

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดตั้งขึ้นตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นคณะตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ให้เป็นหน่วยราชการระดับคณะ ซึ่งนับเป็นคณะที่ 5 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และแต่งตั้งให้อาจารย์ ดร.สุขุม อัศเวศน์ เป็นคณบดีคนแรกของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยในปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้แบ่งส่วนราชการเป็น 1 สำนักงานคณะ 3 ศูนย์ และ 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร และภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ

ประวัติ

  • พ.ศ. 2507 มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร โดยสังกัดอยู่กับคณะวิทยาศาสตร์
  • พ.ศ. 2510 ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นคณะตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2510 ให้เป็นหน่วยราชการระดับคณะ นับเป็นคณะที่ 5 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และแต่งตั้งให้ อาจารย์ ดร.สุขุม อัศเวศน์ เป็นคณบดีคนแรกของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้แบ่งส่วนราชการออกเป็น 5 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ ภาควิชาสัตวบาล ภาควิชาพืชศาสตร์ ภาควิชาถนอมผลิตภัณฑ์เกษตร ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
  • พ.ศ. 2518 ภาควิชาถนอมผลิตภัณฑ์เกษตร เปลี่ยนชื่อเป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และได้พัฒนาไปเป็นคณะอุตสาหกรรมเกษตรในปัจจุบัน ส่วนภาควิชาพืชศาสตร์ ได้ยุบภาควิชาและจัดตั้งเป็น ภาควิชาพืชสวน ภาควิชาพืชไร่ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร และภาควิชาอารักขาพืช
  • พ.ศ. 2523 ยุบภาควิชาอารักขาพืชจัดตั้งเป็นภาควิชาโรคพืช และภาควิชากีฏวิทยา
  • พ.ศ. 2535 ภาควิชาสัตวบาลได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นภาควิชาสัตวศาสตร์
  • พ.ศ. 2547 ได้แบ่งส่วนราชการออกเป็น 1 สำนักงานเลขานุการคณะ และ 8 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ ภาควิชาพืชไร่ ภาควิชาพืชสวน ภาควิชาโรคพืช ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร ภาควิชาสัตวศาสตร์
  • พ.ศ. 2552 ได้หลอมรวมและแบ่งส่วนราชการเป็น 1 สำนักงานคณะ 3 ศูนย์ และ 4 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร และภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ[5]
  • พ.ศ. 2558 ได้มีการแบ่งหน่วยงาน แบ่งออกเป็น 1 สำนักงานคณะ 5 ภาควิชา และ 4 ศูนย์ ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช ภาควิชาเกษตรที่สูงและทัรพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตร ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง และศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ ตามมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คราวประชุมที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2558

พื้นที่ดูแล

  • อาคารเรียนและแปลงทดลองในบริเวณมหาวิทยาลัย 77 ไร่
  • สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ 1,293 ไร่
  • สถานีวิจัยเกษตรที่สูงขุนช่างเคี่ยน อ.เมือง 442 ไร่
  • สถานีวิจัยการเกษตรที่สูงหนองหอย อ.แม่ริม 80 ไร่
  • สถานีวิจัยการเกษตรที่สูงดอยป่าเกี๊ยะ อ.เชียงดาว 60 ไร่
  • สถานีวิจัยการเกษตรเขตชลประทาน 50 ไร่
  • ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไย “หริภุญชัย” 200 ไร่[6]

ทำเนียบคณบดี

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีรายนามคณบดีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังต่อไปนี้[7]

ทำเนียบคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายนามคณบดี วาระการดำรงตำแหน่ง
1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุขุม อัศเวศน์ พ.ศ. 2510 - 2514
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิศิษฐ์ วรอุไร พ.ศ. 2514 - 2517
3. รองศาสตราจารย์ บุญญวาส ลำเพาพงศ์ พ.ศ. 2517 - 2521
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนู ศีติสาร พ.ศ. 2521 - 2523
5. รองศาสตราจารย์ ดร.ดำรง ติยวลีย์ พ.ศ. 2523 - 2527
6. รองศาสตราจารย์ นคร ณ ลำปาง พ.ศ. 2527 - 2531 , พ.ศ. 2531 - 2535
7. ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ พ.ศ. 2535 - 2539 , พ.ศ. 2539 - 2543
8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทยา สรวมศิริ พ.ศ. 2543 - 2547
9. รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเสริม ชีวะอิสระกุล พ.ศ. 2547 - 2551
10. รองศาสตราจารย์ ธีระ วิสิทธิ์พานิช พ.ศ. 2551 - 2555 , พ.ศ. 2555 - 2559

หน่วยงานและโครงสร้าง

สำนักงานคณะ

  • งานบริหารทั่วไป
  • งานการเงิน การคลังและพัสดุ
  • งานบริการการศึกษา และพัฒนาคุณภาพนักศึกษา
  • งานบริหารงานวิจัย และวิเทศสัมพันธ์
  • งานนโยบายและแผน และ ประกันคุณภาพการศึกษา

ภาควิชา

  • ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช
    • สาขาวิชากีฎวิทยา
    • สาขาวิชาโรคพืช
  • ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์
    • สาขาวิชาพืชไร่
    • สาขาวิชาพืชสวน
    • สาขาวิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์
  • ภาควิชาพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตร
    • สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
    • สาขาวิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
  • ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ
  • ภาควิชาเกษตรที่สูงและทรัพยากรธรรมชาติ

ศูนย์วิจัย

  • ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ
    • หน่วยวิจัยและพัฒนาวัสดุอินทรีย์ชีวภาพ
    • หน่วยวิจัยพืชพลังงาน
    • หน่วยสาธิตและฝึกอบรม
    • หน่วยหอพัก
  • ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร
    • หน่วยวิจัยและพัฒนาระบบเกษตรยั่งยืน
    • หน่วยวิจัยและพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
  • ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง
    • หน่วยวิจัยและพัฒนากาแฟ
    • หน่วยวิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูงขุนช่างเคี่ยนไร่หน้า
    • หน่วยวิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูงขุนช่างเคี่ยนไร่หลัง
    • หน่วยวิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูงหนองหอย
    • หน่วยวิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูงป่าเกี๊ยะ
  • ศูนย์วิจัยข้าวล้านนา
  • สถานีวิจัยและพัฒนาลำไยหริภุญไชย
  • ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
  • กลุ่มวิจัยผลิตผลเกษตรปลอดภัยและลดการใช้สารเคมี (Safe Agricultural Product and Appropriate Technology for Reduction of Agrochemistry in Northern Thailand ) (ATRACT)
  • ศูนย์บริการการพัฒนาไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

หมายเหตุ :

  • เป็นศูนย์ในกำกับของคณะเกษตรศาสตร์
    • เป็นศูนย์วิจัยร่วมที่คณะเกษตรศาสตร์เป็นแกน
      • เป็นกลุ่มวิจัยภายในของคณะเกษตรศาสตร์

ศูนย์บริการวิชาการ

  • ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
    • งานบริการวิชาการและฝึกอบรม
    • ร้านจำหน่ายผลิตผล และธุรกิจเกษตร[8]

หลักสูตร

ปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เปิดสอนหลักสูตร ดังนี้[9]

ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) (4 ปี)

  • สาขาวิชาเอกกีฏวิทยา
  • สาขาวิชาเอกปฐพีศาสตร์และอนุรักษ์ศาสตร์
  • สาขาวิชาเอกพืชไร่
  • สาขาวิชาเอกพืชสวน
  • สาขาวิชาเอกโรคพืช
  • สาขาวิชาเอกส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
  • สาขาวิชาเอกสัตวศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเกษตร) (4 ปี)

หลักสูตรสาขาวิชาเดียว

  • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
    • สาขาวิชาเอกกีฏวิทยา
    • สาขาวิชาเอกปฐพีศาสตร์และอนุรักษ์ศาสตร์
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (พืชไร่)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (พืชสวน)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (โรคพืช)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร) (ภาคพิเศษ/ปกติ)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเกษตร)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ธุรกิจเกษตร) (ภาคพิเศษ)

หลักสูตรนานาชาติ

  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การจัดการระบบเกษตร)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การเกษตรยั่งยืนและการจัดการลุ่มนํ้าแบบบูรณาการ)

หลักสูตรสหสาขาวิชา(ภายใต้บัณฑิตวิทยาลัย)

  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ)
  • หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว)

หลักสูตรสาขาวิชาเดียว

  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปฐพีศาสตร์)
  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชไร่)
  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชสวน)
  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (โรคพืช)
  • หลักสูตรปรัชญดุษฎีบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท) (สองภาษา)
  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สัตวศาสตร์)

หลักสูตรนานาชาติ

  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการระบบเกษตร)

หลักสูตรสหวิชา (ภายใต้บัณฑิตวิทยาลัย)

  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ)
  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎ๊บัณฑิต (วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว)

รายนามผู้บริหารชุดปัจจุบัน

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีรายนามผู้บริหารชุดปัจจุบัน ดังต่อไปนี้[10]

ตำแหน่ง นาม
คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ รศ.ธีระ วิสิทธิ์พานิช
รองคณบดีฝ่ายบริหารแผนงานและประกันคุณภาพการศึกษา รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ
รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา
รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ ร่วมพัฒนาสังคม ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและกิจการพิเศษ รศ.ดร.อรรถชัย จินตะเวช
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบัณฑิตศึกษา ผศ.ดร.ดรุณี นาพรหม
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ ดร.จิระวัฒน์ พัสระ
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ ผศ.ดร.สุรินทร์ นิลสำราญจิต
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหารอาคารสถานที่และเทคโนโลยีสารสนเทศ อ.ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษ
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการศึกษาและวิชาการ ดร.ศิวาพร ธรรมดี
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์และพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผศ.ดร.เกศินี เกตุพยัตฆ์
หัวหน้าภาควิชากีฎวิทยาและโรคพืช รศ.ดร.จิราพร กุลสาริน
หัวหน้าภาควิชาหัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร ผศ.ดร.กมล งามสมสุข
หัวหน้าภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ รศ.ดร.ณัฐา โพธาภรณ์
หัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ รศ.ดร.ทวี ตั้งทวีพิพัฒน์
หัวหน้าศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรการเกษตร รศ.ดร.เบญจพรรณ เอกะสิงห์
หัวหน้าศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ ผศ.ดร.สงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์
ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ดร.พรสิริ สืบพงษ์สังข์
ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง รศ.รำไพพรรณ อภิชาติพงศ์ชัย

บุคคลที่มีชื่อเสียง

  • รศ.ดร.สุขุม อัศเวศน์ - อดีตคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ - อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ผศ.ดร.บุญเสริม ชีวะอิสระกุล - อดีตคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ดร.สิงห์ ตั้งเจริญชัยชนะ (สิงห์) - นายกสมาคมนักศึกษาเก่าเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คนที่ 14
  • อภิรักษ์ โกษะโยธิน (ต้อม) - อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร
  • อนุพงษ์ อุดมรัตนกุลชัย - นายกสมาคมนักศึกษาเก่าเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คนที่ 15
  • มนตรี ด่านไพบูลย์ - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
  • ยงยุทธ ติยะไพรัช - อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย[11]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น