ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิตวิทยาคลินิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SongsomPh (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
SongsomPh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''จิตวิทยาคลินิก''' [[Clinical Psychology]] คือ สาขาหนึ่งของวิชาจิตวิทยา (Psychology) ที่มีองค์ประกอบของข้อมูลวิชาความรู้ที่หลากหลายทั้งทางวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ (Arts and Science) นอกเหนือไปจากวิชาจิตวิทยาในแขนงต่างๆ (จิตวิทยาพัฒนาการทุกช่วงวัย จิตวิทยาบุคลิกภาพ จิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาแรงจูงใจ จิตวิทยาการรับรู้ ฯลฯ) ที่จำเป็นต่อการเข้าใจบุคคลแล้ว วิชาจิตวิทยาคลินิกยังต้องการองค์ความรู้อื่นที่สำคัญ อาทิ องค์ความรู้ด้านจิตเวช(Psychiatry) จิตวิเคราะห์(Psychoanalysis) ประสาทวิทยา(Neurology) ประสาทจิตวิทยา(Neuropsychology) สารเสพติดและการติดยา นิติจิตเวช(Forensic Psychiatry) จิตเวชเด็กและวัยรุ่น การทำจิตบำบัดและการให้การปรึกษา(Psychotherapy and Counseling) พฤติกรรมบำบัด การฟื้นฟูดูแลทางด้านจิตใจ และ การตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือทางจิตวิทยาคลินิก เป็นต้น
'''จิตวิทยาคลินิก''' คือ การประยุกต์หลักวิชาจิตวิทยา (Psychology) เพื่อนำมาใช้กับผู้ป่วยทาง[[จิตเวช]] ผู้มีอาการทางจิต หรือผู้มีสภาพจิตใจย่ำแย่หลังจากประสบเหตุการณ์ร้ายแรงหรือความเครียดต่างๆ ทั้งที่เป็นแบบชั่วคราวหรือถาวร เพื่อช่วยให้อาการเหล่านั้นบรรเทาลงหรือหายขาด และช่วยให้เกิดการปรับตัวต่อสถานการณ์ต่างๆได้

ผู้รับบริการด้านจิตวิทยาคลินิก ไม่จำเป็นว่าต้องเป็นผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้มีอาการทางจิตเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทและสมอง ผู้ป่วยโรคทางด้านร่างกายอื่นๆที่มีปัญหาทางจิตใจอารมณ์หรือพฤติกรรมร่วมด้วย นอกจากนี้ บุคคลทั่วไปที่มีประสบการณ์ชีวิตที่ทำให้เกิดความเครียด ความเศร้า ความกลัว หรือความรู้สึกไม่สามารถปรับตัวกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ก็สามารถรับบริการจิตวิทยาคลินิกได้เช่นกัน หรือแม้แต่ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาครอบครัว คู่สมรส หรือปัญหาด้านสัมพันธภาพต่างๆ


== นักจิตวิทยาคลินิก ==
นักจิตวิทยาคลินิก คือ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาด้านจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาคลินิก (Clinical psychology) และมี[[ใบประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก]]
นักจิตวิทยาคลินิกส่วนใหญ่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในหน่วยงานทางการแพทย์และสถานพยาบาลต่างๆ นักจิตวิทยาคลินิกเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้การรักษาทางการแพทย์ อาทิงาน[[จิตเวชศาสตร์]](Psychiatry) งานระบบประสาทและสมอง(Neuroscience) งานเวชกรรมป้องกัน งาน[[เวชศาสตร์ฟื้นฟู]] งานยาเสพติด จิตเวชเด็กและวัยรุ่น งานเวชศาสตร์ครอบครัว งานนิติจิตเวช เป็นต้น

'''บทบาทหน้าที่หลักของนักจิตวิทยาคลินิก''' ได้แก่ งาน'''ตรวจวินิจฉัย'''และการ'''บำบัดรักษา''' ผู้ที่มีปัญหาทางจิตใจ ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม และสัมพันธภาพ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งผู้ป่วยจิตเวชหรือบุคคลทั่วไปที่อาจมีปัญหาดังกล่าว อาทิผู้มีสภาพจิตใจย่ำแย่หลังจากประสบเหตุการณ์ร้ายแรงหรือความเครียดต่างๆ ทั้งที่เป็นแบบชั่วคราวหรือถาวร การบำบัดรักษาจะช่วยให้อาการเหล่านั้นบรรเทาลง และช่วยให้บุคคลเกิดการปรับตัวต่อสถานการณ์และใช้ชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุขมากขึ้น นอกเหนือจากนี้ นักจิตวิทยาคลินิกยังมีบทบาทในงานส่งเสริมป้องกันหรืองานจิตเวชชุมชน งานวิจัย ตลอดจนการดูแลฝึกอบรม



ตัวอย่างงานจิตวิทยาคลินิก เช่น การทำจิตบำบัด (Psychotherapy), การให้การปรึกษา (Counseling) , การทำแบบทดสอบและประเมินสภาพทางจิต บุคลิกภาพ และ เชาวน์ปัญญา เป็นต้น


== จิตวิทยาคลินิกกับงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู ==
== จิตวิทยาคลินิกกับงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู ==
บรรทัด 15: บรรทัด 24:
สถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดหลักสูตรจิตวิทยาคลินิกคือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<ref>http://www.thaiclinicpsy.com/file/knowledge/file/8_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.pdf</ref> เมื่อปี พ.ศ. 2507
สถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดหลักสูตรจิตวิทยาคลินิกคือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<ref>http://www.thaiclinicpsy.com/file/knowledge/file/8_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.pdf</ref> เมื่อปี พ.ศ. 2507


ปัจจุบัน นักจิตวิทยาคลินิกในประเทศไทยปฏิบัติงานอยู่ตามโรงพยาบาลต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
ปัจจุบัน นักจิตวิทยาคลินิกมีกระจายอยู่ตามโรงพยาบาลใหญ่ในกรุงเทพฯและเมืองใหญ่ๆ และโรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยเท่านั้น ในด้านการเรียนการสอน มีบางมหาวิทยาลัยเปิดการสอนด้านจิตวิทยาคลินิก ผู้ที่ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลก็มีจำนวนไม่มากนัก โดยในปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีนักจิตวิทยาคลินิกที่มีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะประมาณ 500 คน
ได้แก่ โรงพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์(ประจำจังหวัด) โรงพยาบาลประจำอำเภอใหญ่ๆ โรงพยาบาลจิตเวช โรงพยาบาลประสาท(ระบบประสาทและสมอง) ตลอดจนโรงพยาบาลในสังกัดสถาบันการศึกษาต่างๆ
สถาบันด้านพัฒนาการเด็กและวันรุ่น สถาบันธัญญารักษ์ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โรงเรียนเด็กพิเศษ และศูนย์บริการสาธารณะสุขเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น

เนื่องจากข้อจำกัดด้านการเรียนการสอนสาขาจิตวิทยาคลินิกในประเทศไทย จึงมีจำนวนผู้ที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพนี้จำนวนไม่มากนัก โดยในปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีนักจิตวิทยาคลินิกที่มีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะประมาณ 500 คน



== นักจิตวิทยาคลินิก ==
นักจิตวิทยาคลินิก คือ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาด้านจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาคลินิก (Clinical psychology) และมี[[ใบประกอบโรคศิลปะ]] ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานสุขภาพจิตและจิตเวชในสถานพยาบาลต่างๆ นักจิตวิทยาคลินิกเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้การรักษาทางการแพทย์ อาทิงาน[[จิตเวชศาสตร์]] (Psychiatry) งานระบบประสาทและสมอง (Neuroscience: Neurology and Brain Functioning) งานเวชกรรมป้องกัน งาน[[เวชศาสตร์ฟื้นฟู]] งานยาเสพติด จิตเวชเด็กและวัยรุ่น งานเวชศาสตร์ครอบครัว งานนิติจิตเวช เป็นต้น


'''สถาบันการศึกษาที่มีการเปิดสอนหลักสูตรจิตวิทยาคลินิกในปัจจุบัน'''
บทบาทหน้าที่หลักของนักจิตวิทยาคลินิก ได้แก่ งานตรวจวินิจฉัยและการบำบัดรักษา ผู้ที่มีปัญหาทางจิตใจ ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม และสัมพันธภาพ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งผู้ป่วยจิตเวชหรือบุคคลทั่วไปที่อาจมีปัญหาดังกล่าว
ระดับปริญญาตรี สถาบันการศึกษาของรัฐ ได้แก่
นอกเหนือจากนี้ นักจิตวิทยาคลินิกยังมีบทบาทในงานส่งเสริมป้องกันหรืองานจิตเวชชุมชน งานวิจัย ตลอดจนการดูแลฝึกอบรมนักศึกษา่สาขาจิตวิทยาคลินิกรุ่นใหม่
- มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (คณะมนุษยศาสตร์-หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต และก่อตั้งเป็นแห่งแรกของประเทศ พ.ศ. 2507)
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (คณะศิลปศาสตร์-หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต)
- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (คณะสังคมศาสตร์)
- มหาวิทยาลัยนเรศวร (คณะสังคมศาสตร์)
- มหาวิทยาลัยมหาสารคาม(คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยา**สาขาย่อยจิตวิทยาคลินิกและสาขาการให้การปรึกษา) และ
- มหาวิทยาลัยรามคำแหง (คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน) .
ระดับปริญญาตรี สถาบันการศึกษาเอกชน ได้แก่
- วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ (คณะจิตวิทยา-หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต)


ระดับปริญญาโท ได้แก่
สถาบันการศึกษาที่ปัจจุบันมีการเปิดสอนหลักสูตรจิตวิทยาคลินิก
- มหาวิทยาลัยมหิดล (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สาขาจิตวิทยาคลินิก) และ
ระดับปริญญาตรี สถาบันการศึกษาของรัฐ ได้แก่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (คณะมนุษยศาสตร์ และก่อตั้งเป็นแห่งแรกของประเทศ พ.ศ. 2507) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (คณะศิลปศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (คณะสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร (คณะสังคมศาสตร์)มหาวิทยาลัยมหาสารคาม(คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยา**สาขาย่อยจิตวิทยาคลินิกและสาขาการให้การปรึกษา) และ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน)
- มหาวิทยาลัยรามคำแหง (คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน) (โปรดตรวจสอบเพิ่มเติม)
ระดับปริญญาตรี สถาบันการศึกษาเอกชน ได้แก่ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ (คณะจิตวิทยา-หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต)
ระดับปริญญาโท ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สาขาจิตวิทยาคลินิก) และมหาวิทยาลัยรามคำแหง (คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 37: บรรทัด 56:
* [[เวชศาสตร์ฟื้นฟู]]
* [[เวชศาสตร์ฟื้นฟู]]
* [[คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* [[คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* [[[http://www.soc.cmu.ac.th/ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาเชียงใหม่]]]
* [http://www.slc.ac.th คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์]
* [http://www.slc.ac.th คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:51, 22 มีนาคม 2559

จิตวิทยาคลินิก Clinical Psychology คือ สาขาหนึ่งของวิชาจิตวิทยา (Psychology) ที่มีองค์ประกอบของข้อมูลวิชาความรู้ที่หลากหลายทั้งทางวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ (Arts and Science) นอกเหนือไปจากวิชาจิตวิทยาในแขนงต่างๆ (จิตวิทยาพัฒนาการทุกช่วงวัย จิตวิทยาบุคลิกภาพ จิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาแรงจูงใจ จิตวิทยาการรับรู้ ฯลฯ) ที่จำเป็นต่อการเข้าใจบุคคลแล้ว วิชาจิตวิทยาคลินิกยังต้องการองค์ความรู้อื่นที่สำคัญ อาทิ องค์ความรู้ด้านจิตเวช(Psychiatry) จิตวิเคราะห์(Psychoanalysis) ประสาทวิทยา(Neurology) ประสาทจิตวิทยา(Neuropsychology) สารเสพติดและการติดยา นิติจิตเวช(Forensic Psychiatry) จิตเวชเด็กและวัยรุ่น การทำจิตบำบัดและการให้การปรึกษา(Psychotherapy and Counseling) พฤติกรรมบำบัด การฟื้นฟูดูแลทางด้านจิตใจ และ การตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือทางจิตวิทยาคลินิก เป็นต้น

ผู้รับบริการด้านจิตวิทยาคลินิก ไม่จำเป็นว่าต้องเป็นผู้ป่วยจิตเวชหรือผู้มีอาการทางจิตเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทและสมอง ผู้ป่วยโรคทางด้านร่างกายอื่นๆที่มีปัญหาทางจิตใจอารมณ์หรือพฤติกรรมร่วมด้วย นอกจากนี้ บุคคลทั่วไปที่มีประสบการณ์ชีวิตที่ทำให้เกิดความเครียด ความเศร้า ความกลัว หรือความรู้สึกไม่สามารถปรับตัวกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ก็สามารถรับบริการจิตวิทยาคลินิกได้เช่นกัน หรือแม้แต่ปัญหาพฤติกรรม ปัญหาครอบครัว คู่สมรส หรือปัญหาด้านสัมพันธภาพต่างๆ


นักจิตวิทยาคลินิก

นักจิตวิทยาคลินิก คือ ผู้ที่สำเร็จการศึกษาด้านจิตวิทยาสาขาจิตวิทยาคลินิก (Clinical psychology) และมีใบประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก นักจิตวิทยาคลินิกส่วนใหญ่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในหน่วยงานทางการแพทย์และสถานพยาบาลต่างๆ นักจิตวิทยาคลินิกเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้การรักษาทางการแพทย์ อาทิงานจิตเวชศาสตร์(Psychiatry) งานระบบประสาทและสมอง(Neuroscience) งานเวชกรรมป้องกัน งานเวชศาสตร์ฟื้นฟู งานยาเสพติด จิตเวชเด็กและวัยรุ่น งานเวชศาสตร์ครอบครัว งานนิติจิตเวช เป็นต้น

บทบาทหน้าที่หลักของนักจิตวิทยาคลินิก ได้แก่ งานตรวจวินิจฉัยและการบำบัดรักษา ผู้ที่มีปัญหาทางจิตใจ ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม และสัมพันธภาพ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งผู้ป่วยจิตเวชหรือบุคคลทั่วไปที่อาจมีปัญหาดังกล่าว อาทิผู้มีสภาพจิตใจย่ำแย่หลังจากประสบเหตุการณ์ร้ายแรงหรือความเครียดต่างๆ ทั้งที่เป็นแบบชั่วคราวหรือถาวร การบำบัดรักษาจะช่วยให้อาการเหล่านั้นบรรเทาลง และช่วยให้บุคคลเกิดการปรับตัวต่อสถานการณ์และใช้ชีวิตต่อไปได้อย่างมีความสุขมากขึ้น นอกเหนือจากนี้ นักจิตวิทยาคลินิกยังมีบทบาทในงานส่งเสริมป้องกันหรืองานจิตเวชชุมชน งานวิจัย ตลอดจนการดูแลฝึกอบรม


จิตวิทยาคลินิกกับงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู

งานจิตวิทยาคลินิกมีส่วนสำคัญต่อการบำบัดฟื้นฟูมาก เนื่องจากผู้พิการหรือผู้ที่สูญเสียสมรรถภาพทางกายย่อมมีสภาพจิตใจแย่ลง หน้าที่ของนักจิตวิทยาคือการประเมินด้วยแบบทดสอบต่างๆ ให้การปรึกษาและการรักษาทางจิตวิทยาร่วมกับจิตแพทย์และแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดการปรับสภาพจิตใจภายหลังเกิดความพิการได้

นอกจากนี้ ยังเป็นผู้ที่ดำเนินกิจกรรมกลุ่มบำบัดร่วมกับพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟูและบุคลากรอื่นๆ ให้การปรึกษาเป็นรายบุคคล คัดกรองผู้มีความเสี่ยงสูง และร่วมวางแผนการรักษาฟื้นฟูกับทีมงานเวชศาสตร์ฟื้นฟูอีกด้วย

งานจิตวิทยาคลินิกในต่างประเทศ

งานจิตวิทยาคลินิกเริ่มเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 19 และได้ถือว่ามีกำเนิดอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1896 ที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองเพนซิลวาเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา งานจิตวิทยาคลินิกในต่างประเทศโดยเฉพาะในอเมริกาและยุโรปมีความก้าวหน้ามาก มีการให้บริการในทุกโรงพยาบาลในเมืองใหญ่ๆ มีการฝึกอบรมในมหาวิทยาลัยต่างๆ และงานวิจัยต่างๆก็ถูกตีพิมพ์ออกมาอย่างต่อเนื่อง

งานจิตวิทยาคลินิกในประเทศไทย

สถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดหลักสูตรจิตวิทยาคลินิกคือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่[1] เมื่อปี พ.ศ. 2507

ปัจจุบัน นักจิตวิทยาคลินิกในประเทศไทยปฏิบัติงานอยู่ตามโรงพยาบาลต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ โรงพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์(ประจำจังหวัด) โรงพยาบาลประจำอำเภอใหญ่ๆ โรงพยาบาลจิตเวช โรงพยาบาลประสาท(ระบบประสาทและสมอง) ตลอดจนโรงพยาบาลในสังกัดสถาบันการศึกษาต่างๆ สถาบันด้านพัฒนาการเด็กและวันรุ่น สถาบันธัญญารักษ์ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โรงเรียนเด็กพิเศษ และศูนย์บริการสาธารณะสุขเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น

เนื่องจากข้อจำกัดด้านการเรียนการสอนสาขาจิตวิทยาคลินิกในประเทศไทย จึงมีจำนวนผู้ที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพนี้จำนวนไม่มากนัก โดยในปี พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีนักจิตวิทยาคลินิกที่มีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะประมาณ 500 คน


สถาบันการศึกษาที่มีการเปิดสอนหลักสูตรจิตวิทยาคลินิกในปัจจุบัน ระดับปริญญาตรี สถาบันการศึกษาของรัฐ ได้แก่ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (คณะมนุษยศาสตร์-หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต และก่อตั้งเป็นแห่งแรกของประเทศ พ.ศ. 2507) - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (คณะศิลปศาสตร์-หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต) - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (คณะสังคมศาสตร์) - มหาวิทยาลัยนเรศวร (คณะสังคมศาสตร์) - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม(คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยา**สาขาย่อยจิตวิทยาคลินิกและสาขาการให้การปรึกษา) และ - มหาวิทยาลัยรามคำแหง (คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน) . ระดับปริญญาตรี สถาบันการศึกษาเอกชน ได้แก่ - วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ (คณะจิตวิทยา-หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต)

ระดับปริญญาโท ได้แก่ - มหาวิทยาลัยมหิดล (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สาขาจิตวิทยาคลินิก) และ - มหาวิทยาลัยรามคำแหง (คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน) (โปรดตรวจสอบเพิ่มเติม)

อ้างอิง

  • ดัดแปลงจากตำราเวชศาสตร์ฟื้นฟู นพ.เสก อักษรานุเคราะห์ บก. จัดพิมพ์โดยสมาคมเวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย.

ดูเพิ่ม